การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางสาวอัปสร ศิลปาจารย์
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
Magic Gas Group 5 Uniworld Indicator Magic Gas Group 5 Uniworld IndicatorM.1/5.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
ขั้นตอนการทำวิจัย และ การเขียนโครงร่างวิจัย รศ.ดร. ธวัชชัย วรพงศธร
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การวิจัยในชั้นเรียน( Classroom Action Research)
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
นายกิตติพงษ์ สว่างลาภ วท.บ., บธ.บ., ศศ.บ., วท.ม.
บทที่ 7 ตัวแปรและการจัดการข้อมูล
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
กระบวนการเรียนการสอน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘ การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘ โดย นางสาวศิริมา นเรวุฒิกุล ไม่สังกัดวิทยาลัย

การศึกษาพฤติกรรมการแต่งกาย ระดับอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงราย เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการแต่งกาย ของนักเรียน นักศึกษา ระดับอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ………………………………….

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนักเรียน นักศึกษา ระดับ อาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงราย ทุกแห่ง ทุกสาขาวิชาที่เปิดสอน ตามหลักสูตร ของสถานศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 2. เพื่อเป็นแนวทางการวิจัยต่อเนื่องครั้งต่อไป เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม การแต่งกาย ของนักเรียน นักศึกษา ระดับอาชีวศึกษาในจังหวัด เชียงราย ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variable) พฤติกรรมการแต่งกาย - ด้านเหตุผลส่วนตัว - ด้านสภาพครอบครัว การแต่งกายของ นักเรียน /นักศึกษา ระดับอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงราย ทุกแห่ง ทุกสาขาวิชา ที่เปิดสอน ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ระดับ อาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงรายทุกแห่ง ทุกสาขาวิชา ที่เปิดสอน ตามหลักสูตร ของสถานศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ระดับอาชีวศึกษา ในจังหวัดเชียงรายทุกแห่ง ทุกสาขาวิชา ที่เปิดสอน ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างเฉพาะ นักเรียน นักศึกษา ที่มีพฤติกรรมการแต่งกายผิดระเบียบ จำนวน 250 คน โดยวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (Non-probability sampling) เป็นการเลือกโดยเจาะจง (Purposive sampling) กาญจนา วัฒายุ. (2550: 34)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม  ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป N = 250 จำนวนคน ร้อยละ 1. เพศหญิง 120 48.00 2. อายุระหว่าง 19-20 ปี 95 38.00 3. ระดับชั้น ปวส. 129 51.60 4. สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 84 33.60 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ปานกลาง (2.01 – 2.50) 112 44.80

ข้อมูลทั่วไป N = 250 จำนวนคน ร้อยละ 6. สถานที่อยู่อาศัย บ้านส่วนตัว 113 45.20 7. เดินทางมาวิทยาลัยฯโดย…รถมอเตอร์ไซค์ส่วนตัว 151 60.40 8. ได้รับเงินค่าใช้จ่ายประจำวันจาก บิดา มารดา 203 81.20 9. ได้รับเงินใช้จ่าย (ไม่รวมค่าหอพัก,ค่าน้ำมันรถ) รายสัปดาห์ 92 36.80 10. สถานะภาพครอบครัว (บิดา + มารดา)อยู่ด้วยกัน 148 59.20 11. กรณีบิดามารดา หย่าร้าง / แยกกันอยู่ /บิดาตาย /มารดาตาย /บิดามารดาตาย นักเรียน/นักศึกษาอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย 45 36.29 12. บิดา มารดา หรือผู้ปกครองประกอบอาชีพ ทำไร่ ทำนา ทำสวน 125 50.00 13. รายได้ของผู้ปกครองต่อเดือนระหว่าง 5,000 -15,000 บาท 139 55.60

ภาพรวมทั้ง 2 ด้าน เฉลี่ยรวม ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการแต่งกายของนักเรียน นักศึกษาทั้ง 2 ด้าน (N = 250) ปัญหา X S.D. ระดับความคิดเห็น อันดับที่ ด้านเหตุผลส่วนตัว 1. กระแสนิยมตามแฟชั่น 3.62 0.81 มาก 1 2. สื่อโฆษณาต่าง ๆ 3.48 0.83 ปานกลาง 3 3. ตามเพื่อน 3.44 0.89 4 4. แต่งแล้วมีความมั่นใจ 3.61 0.87 2 เฉลี่ยรวม 3.54 0.85 ด้านสภาพครอบครัว 1. บิดามารดาตามใจ 3.16 1.02 2. เกิดการขัดแย้งภายในครอบครัว 2.58 1.21 3. บิดามารดาไม่มีเวลาเอาใจใส่ 2.71 1.27 4. เป็นผู้สร้างรายได้ด้วยตนเอง 2.89 1.31 2.84 1.20 ภาพรวมทั้ง 2 ด้าน เฉลี่ยรวม 3.19 1.03

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของนักเรียน นักศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ 19-20 ปี ระดับชั้น ปวส. สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีผลสัมฤทธิ์ระดับปานกลาง อาศัยอยู่บ้าน ส่วนตัว เดินทางมาวิทยาลัยฯ โดยใช้รถมอเตอร์ไซค์ส่วนตัว ได้รับ เงินค่าใช้จ่ายประจำวันจากบิดา มารดา เป็นรายสัปดาห์ อยู่รวมกันกับครอบครัว (บิดา + มารดา) ในกรณีบิดามารดา หย่าร้าง / แยกกันอยู่ /บิดาตาย /มารดาตาย /บิดามารดาตาย อาศัย อยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย อาชีพของ บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ทำไร่ ทำนา ทำสวน มีรายได้ต่อเดือน ระหว่าง 5,000 - 15,000 บาท

2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พฤติกรรมการแต่งกายของ นักเรียน นักศึกษา ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านเหตุผล ส่วนตัวและ ด้านสถานภาพครอบครัว พบว่า ในภาพรวม อยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาปัญหารายด้าน พบว่า ด้านเหตุผลส่วนตัว อยู่ในระดับมาก และ ด้านสภาพ ครอบครัว อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ของการวิจัย ที่กำหนดไว้ว่า “พฤติกรรม การแต่งกาย ผิดระเบียบ มาจากสาเหตุ ด้านเหตุผลส่วนตัวมากกว่า ด้านสภาพครอบครัว”

เมื่อพิจารณา ด้านเหตุผลส่วนตัว พบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ พฤติกรรม การแต่งกายตามกระแสนิยมตามแฟชั่น รองลงมา แต่งแล้วมีความมั่นใจ และ แต่งกายตามสื่อโฆษณาต่าง ๆ ตามลำดับ ส่วน รายการที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ แต่งกายตามเพื่อน

และเมื่อพิจารณา ด้านสถานภาพครอบครัว พบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ พฤติกรรม การแต่งกายที่เกิดจากบิดามารดาตามใจ รองลงมา พฤติกรรมการแต่งกายที่เกิดจากการเป็น ผู้สร้างรายได้ด้วยตนเอง (ทำงานพิเศษ หลังเลิกเรียน เลี้ยงตัวเองได้) และ บิดามารดา ไม่มีเวลาเอาใจใส่ ตามลำดับ ส่วนรายการที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ พฤติกรรมการแต่งกาย ที่เกิดจากความขัดแย้งภายในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ 1. จากการวิจัยในครั้งนี้ ได้นำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นแนวทาง การวิจัยต่อเนื่องครั้งต่อไป เรื่อง “แนวทางการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม การแต่งกายของนักเรียน นักศึกษา ระดับอาชีวศึกษา ในจังหวัดเชียงราย ในภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2557” 2. ควรนำแบบสอบถาม แจกให้นักเรียน นักศึกษาที่แต่งกาย ถูกระเบียบ ครูอาจารย์ผู้สอน ผู้ปกครอง และชุมชนรวมให้ข้อมูล เพราะจะทำให้ได้รับทราบ หลายมุมมอง 3. ในแบบสอบถามควรเจาะลึกลงไปว่า ผิดระเบียบเรื่องใด มากที่สุด เช่น กระโปรง เสื้อ รองเท้า กางเกง เข้มขัด สีผล ฯลฯ

จบการนำเสนอ ผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘ ขอบคุณ สวัสดีคะ เชียงราย เหนือสุดในสยาม…ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา