สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
Advertisements

กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
Performance Agreement : PA ปี 2560
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
การดำเนินงานไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค.61)
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
พระธาตุนาดูนศูนย์รวมจิตใจ น้ำดูนใสศักดิ์สิทธิ์ วิจิตรสวนวลัยรุกขเวช
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10 -ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA - ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA - ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว โดย นพ.ปฐมพงศ์ ปรุโปร่ง รก.นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน สสจ.อำนาจเจริญ ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 พญ.บุศณี มุจรินทร์ เลขานุการคณะพัฒนาองค์กรคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10 28 ธ.ค.2560

ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

โครงสร้างคณะกรรมการพัฒนาองค์กรคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10 นพ.ประภาส วีระพล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ คณะกรรมการขับเคลื่อน PMQA คณะกรรมการขับเคลื่อน HA คณะกรรมการขับเคลื่อน รพ.สต.ติดดาว รองประธาน รองประธาน รองประธาน นายปฐมพงษ์ ปรุโปร่ง นางอัญชลี หน่อแก้ว นางกันตินันท์ มหาสุรีชัย รก.ในตำแหน่ง นวก.สธ.เชี่ยวชาญ นพ.ชำนาญการพิเศษ รก.ในตำแหน่ง ผชช.ว. สนง.สสจ.อำนาจเจริญ โรงพยาบาลมุกดาหาร สนง.สสจ.อำนาจเจริญ เลขานุการ เลขานุการ เลขานุการ นายประวุฒิ พุทธขิน นางเรียมรัตน์ รักเสมอวงศ์ นส.บุศณี มุจรินทร์ นักวิชาการสาธารณุสุขชำนาญการ นักวิชาการสาธารณุสุขชำนาญการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลปทุมราชวงศา นายชัยนิตย์ อินทร์งาม นายทนงศักดิ์ พลอาษา นางสุนิดา แสงย้อย นักวิชาการสาธารณุสุขชำนาญการ นักวิชาการสาธารณุสุขชำนาญการ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

- สนง.สสจ. ระดับ 5 ร้อยละ 60 - สนง.สสอ. ระดับ 5 ร้อยละ 20 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ PMQA (หมวด 1,5) - สนง.สสจ. ระดับ 5 ร้อยละ 60 - สนง.สสอ. ระดับ 5 ร้อยละ 20

หมวด 5การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 5การมุ่งเน้นบุคลากร -สนง.สสจ. ระดับ 5 ร้อยละ 60 -สนง.สสอ. ระดับ 5 ร้อยละ 20

ค่าเป้าหมาย : ระดับ 5 สสจ.ร้อยละ 60 สสอ. ร้อยละ 20 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA ) ของส่วนราชการ ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ค่าเป้าหมาย : ระดับ 5 สสจ.ร้อยละ 60 สสอ. ร้อยละ 20 ปัญหา/อุปสรรค ขาดความตระหนักรู้ และการประยุกต์ใช้เกณฑ์ PMQA เป็นตัวช่วย ในการพัฒนาองค์กร ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ไม่เห็นความสำคัญ ไม่เข้าใจบริบทตัวเอง ทำเพราะเป็น PA และมองว่าเป็นภาระงาน ที่เพิ่มขึ้น

แผนการพัฒนา PMQA 1.สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข อบรมโครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)ครั้งที่4 ที่โรงแรมฟอร์จูน ริเวอร์วิว นครพนม เป้าหมาย สนง.สสจ.และ สนง.สสอ. ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- รพศ./รพท./รพ.สังกัดกรม ร้อยละ 100 - โรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 80 ร้อยละ รพ.ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรองHA ขั้น 3 - รพศ./รพท./รพ.สังกัดกรม ร้อยละ 100 - โรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 80

ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 สถานการณ์ /เป้าหมาย * รพศ./รพท./กรมอื่น 10 แห่ง ผ่าน 10 แห่ง (100%) / 100% * รพช. 63 แห่ง ผ่าน 54 แห่ง (74.6%) /80% มาตรการ * สร้างกลไกในการขับเคลื่อนทั้งระดับเขตและจังหวัด * พัฒนาคุณภาพ รพ. เพื่อเอื้อต่อการบริหารจัดการในทุกด้าน ด้านบริหาร - ด้านงบประมาณ ด้านวิชาการ(จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ/จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้) * จัดทีม External surveyor (site visit empowerment) *ใช้ระบบพี่เลี้ยงคุณภาพ โดย QLN และสนับสนุนให้เพิ่ม Node/QLN/QRT เพื่อการพัฒนาต่อเนื่อง *นิเทศงาน/รายงานผู้บริหาร /M&E /รายงานผลรายไตรมาส กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายเน้น รพช.ระดับ 0,1, 2 รวม 16 แห่ง ขั้น 0 มี 5 แห่ง - อุบล 2 ศรีสะเกษ 3 ขั้น 1 มี 3 แห่ง - อุบล 3 ขั้น 2 มี 8 แห่ง - อุบล 5, ศรีสะเกษ 1, ยโสธร 2 * รพ. Reaccredit ปี 61 มี 13 แห่ง *และอื่นๆ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เขตสุขภาพแต่งตั้ง คกก. ขับเคลื่อน HA สนับสนุนงบประมาณ กำหนดมาตรการ กิจกรรม และการกำกับ ติดตามผล จังหวัดประชุมชี้แจง รพ. เพื่อรับทราบตัวชี้วัดและเกณฑ์ประเมิน ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพโดย QRT จังหวัด และ QRT โดยมอบนโยบายและจัดทีมพัฒนาเครือข่าย สนับสนุนให้เพิ่ม Node /QLN/QRT จัดเวทีแลกเปลี่ยนระหว่างโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ กับที่ยังไม่ผ่าน HA กลุ่มเป้าหมายที่เน้นหนัก คือ รพช ระดับ 0,1,2 และReaccredit รวม 29 แห่ง เป็น จนท.จัดการและสายวิชาชีพ รพ.ละ 3-5 คน และตัวแทน รพ.ที่ผ่าน HA รวมประมาณ 140 คน พัฒนาศักยภาพ QRTจังหวัด และ QRT อำเภอ สร้างทีม External surveyor ภายในเขต และภายในจังหวัด ติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงานและพัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาล ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน HA (M&E) รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการประเมิน รายงานผลต่อผู้บริหาร / รายงานผล

Key Risk Area/Key Risk Factor - ข้อจำกัดในงบประมาณ - ทีมพี่เลี้ยงคุณภาพมีน้อย ไม่เพียงพอ - ระบบบำบัดน้ำเสีย ( รพ.ค้อวัง) - - พัฒนาทีมพี่เลี้ยงคุณภาพให้มีความเชี่ยวชาญ ในการให้คำปรึกษา -พัฒนาทีมพี่เลี้ยงคุณภาพให้มีความเชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษา -บุคลากรขาดความเชี่ยวชาญด้าน IC RM ENV -มี รพช. F3 จำนวน 5 แห่ง มีปัญหาระบบสำคัญใน รพ. เช่น ระบบสำรองไฟ รพ.นาเยีย/ รพ.สว่างวีระวงค์ -มี รพช. F3 จำนวน 3 แห่ง มีปัญหาระบบสำคัญใน รพ. เช่น ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบสำรองไฟ -ระบบบำบัดน้ำเสีย -การจัดทำเอกสารไม่สมบูรณ์ -ความเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนผู้บริหาร/ทีมนำ

ของ รพศ./รพท. /รพ.สังกัดกรม มากกว่าร้อยละ 80 ของ รพช. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 เป้า:ร้อยละ 100 ของ รพศ./รพท. /รพ.สังกัดกรม มากกว่าร้อยละ 80 ของ รพช. (ณ 31 สิงหาคม 2561) เขตสุขภาพที่ 10 มี รพศ./รพท./รพ.สังกัด กรม 10 แห่ง ได้รับการรับรองทั้ง 10 แห่ง (ร้อยละ 100 ) ปีงบประมาณ 2561 ต่ออายุ (Reaccredit) 3 แห่ง รอผลการรับรอง 1 แห่ง รพ.ยโสธร รพช.63 แห่ง ได้รับการรับรอง 54 (ร้อยละ 85.71) ปีงบประมาณ 2561 มี รพ. ที่ต้องยื่นขอต่ออายุ (Reaccredit) 13 แห่ง ผ่าน 10 แห่ง 3 แห่งอยู่ในกระบวนการรับรอง รพช. ขั้น 2,1 และ 0 จำนวน 9 แห่ง - อุบลราชธานี : รพ.สว่างวีระวงศ์,รพ.นาเยีย,รพ.เหล่า เสือโก้ก รพ.นาตาล,รพ.น้ำขุ่น(0) - ศรีสะเกษ : รพ.วังหิน รพ.พยุห์, รพ.โพธิ์ศรีสุวรรณ รพ.ศิลาลาด(0) จังหวัด อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร รวม % 77.27 (17/22) 80.9 (17/21) 100 (8/8) (6/6) 85.71 (54/63) จังหวัด อุบลฯ ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจฯ มุกดาหาร รวม % 100 (6/6) (1/1) (10/10)

ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการพัฒนาคุณภาพ HA เขตสุขภาพที่ 10

การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.ติดดาว) ร้อยละ 25 (สะสม)

การดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว เขตสุขภาพที่ 10 แต่งตั้ง คกก /รับนโยบายและแนวทางการพัฒนารพ.สต.ติดดาว และพัฒนาครู ก ระดับเขต รพ.สต.ทุกแห่งประเมินตนเอง อำเภอ จังหวัด ประเมินตามเกณฑ์ และนำผลมาวิเคราะห์/พัฒนา ทีมระดับเขตประเมินเพื่อค้นหา The Best ต้นแบบของการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว เขตสุขภาพที่ 10 จัดประชุม ลปรร ถอดบทเรียน และมอบรางวัล รพ.สต. ที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาวที่ผ่าน 5 ดาว เข้ารับเข็ม และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับประเทศ (19-20 ก.ย. 2561)

ผลการดำเนินงาน ร้อยละ40.74 จำนวน รพสต. ร้อยละ40.74 1.เกณฑ์ Green & Clean ไม่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ 2.เกณฑ์คำสั่ง พชอ. ที่กำหนดให้มีงานเภสัชกรรมเป็นหนึ่งใน คกก. ทำไม่ได้ในบางพื้นที่ เนื่องจากการพัฒนาของ พชอ. ไม่ได้กำหนดประเด็นงานเภสัชกรรมทุกอำเภอ 3.การถ่ายทอดนโยบาย หรือการปรับเปลี่ยนแปลงเกณฑ์มีความล่าช้า ทำให้การถ่ายทอดระดับเขต จังหวัด และอำเภอ/พื้นที่มีความล่าช้า 4.ขาดงบประมาณในส่วนของงบลงทุน/งบค่าเสื่อม ปัญหา/ อุปสรรค

ขอบคุณค่ะ