การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
Advertisements

หัวข้อการจัดอบรม iOPPP Datacenter
M & E 2558 ทพ.นิติโชติ นิลกำแหง สสจ.ชัยภูมิ 15 ตค.2557.
Health Script The Universal Health Data Center.
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 28 ตุลาคม 2557
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
เขตบริการสุขภาพที่ ประกาศนโยบายของเขตสุขภาพ ด้านการให้รหัสโรค ( บันทึก Diag text ทุกครั้งที่ให้บริการ ) และแต่งตั้ง คณะทำงานฯเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม.
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
Report การแข่งขัน.
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมสายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การค้นหาเส้นทางและพิกัดตำแหน่งบ้านผู้ป่วย
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
ปรับแนวทาง ตามมติคณะทำงานฯ ณ 16 ก.พ. 61
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
สรุปผลงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ทบทวนการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
จารย์เวิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไกรวุฒิ แก้วชาลุน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

คลังข้อมูลระดับจังหวัด กลุ่มงาน,รพ.,สสอ.,รพ.สต.,หน่วยงานอื่นๆ วางแผน,ควบคุมกำกับ,ประเมินผล,ศึกษาวิจัย Cockpit R8WAY บริการข้อมูล MIS , GIS , COCKPIT , ฯลฯ บันทึกข้อมูล คลังข้อมูลระดับจังหวัด 43 แฟ้ม รพ.สต. On cloud สสอ. ตรวจสอบคุณภาพ ข้อมูลแหล่งอื่น 43 แฟ้ม ทะเบียนราษฎร์ สปสช.(dbpop) สพฐ.(นร.) สนย.(เกิด-ตาย) อื่นๆ ข้อมูลบริการ รายงาน&สำรวจ E Claim ส่งรายวัน/ สัปดาห์ E-Report สำรวจ 43 แฟ้ม รพ.สต. ,ศสม. JHCIS HosXP PCU ตรวจสอบ คุณภาพ โรงพยาบาล HosXP Home C,ฯ พัฒนา บุคลากร

HDC on cloud

คุณภาพข้อมูล ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา การเข้าถึง การใช้งาน รายละเอียดของข้อมูลครบถ้วน ครบตามรายการที่จัดเก็บ ครอบคลุมตามกิจกรรมที่ทำ ครบถ้วน การเข้าถึง (Availability) เนื้อหาถูกต้อง รหัสถูกต้อง ถูกคน ถูกกลุ่มเป้าหมาย ทันสมัย โครงสร้างข้อมูลถูกต้อง เชื่อมโยงได้ ถูกต้อง การใช้งาน (Usability) ความน่าเชื่อถือ ทันเวลาตามที่กำหนด ถูกช่วงเวลา นำมาใช้ประโยชน์ได้ทันเหตุการณ์ ทันเวลา (Reliability)

บทบาทการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล หน่วยบริการ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล เทียบกับการให้บริการ ตรวจสอบการส่งข้อมูลรายสัปดาห์/รายเดือน กำกับ ติดตาม วิเคราะห์ ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด สสอ. ตรวจสอบความถูกต้องไฟล์ข้อมูล โครงสร้าง การส่งออก นำเข้า กำกับ ติดตาม วิเคราะห์ ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด สสจ.

บทบาทการจัดการข้อมูลของหน่วยบริการ ส่งข้อมูลทันเวลาตามที่กำหนด ทันสมัย ถูกโครงสร้าง แนวทางที่กำหนด มีความเที่ยงตรง สอดคล้องกับบริการ มีที่มา แหล่งอ้างอิงเชิงประจักษ์     นำข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์ ครบถ้วนตามจำนวนที่ให้บริการ ครบในเนื้อหา ครอบคลุมเป้าหมาย มีระบบสำรองข้อมูล ป้องกัน การบุกรุก ป้องกันเนื้อข้อมูล ตรงกับกิจกรรมที่ให้บริการ ถูกต้องในเนื้อหา ไม่ปรับแต่ง มะโน  

บทบาทการจัดการข้อมูลของ สสอ. ตรวจสอบการส่งข้อมูลของหน่วยบริการ กำกับ ติดตาม เร่งรัดผลการดำเนินงาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ นิเทศงาน สนับสนุน ช่วยเหลือ แก้ปัญหา ทำแผนพัฒนาโครงสร้าง บุคลากร วิชาการ

บทบาทการจัดการข้อมูลของ สสจ. กำกับ ติดตาม การส่งข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ข้อมูล กำกับ ติดตาม สนับสนุน ช่วยเหลือ การบันทึก การส่ง ดูแลการ Update โปรแกรม พัฒนาบุคลากร IT กำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่รับผิดชอบ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ใช้ประโยชน์ข้อมูล PM

การส่งข้อมูล 43 แฟ้ม HDC Data Correct ส่งทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรือทุกเดือนดี ? ความถี่ ขึ้นกับนโยบายการใช้ประโยชน์ข้อมูล ลักษณะการนนำเข้าข้อมูล HDC ต้องตรวจสอบข้อมูลทุกครั้งก่อนส่ง สุ่มตรวจ ตรวจ HDC ? ตรวจสอบ การจัดการคุณภาพข้อมูลของหน่วยงาน error อาจไม่จำเป็นต้องแก้ทุกรายการ ข้อมูลที่ส่งไปแล้วไม่ถูกต้อง จะแก้ไข ? การแก้ไข แก้ข้อมูลไม่ได้แก้ PK จะทับข้อมูลเดิม ถ้าแก้ PK เป็นการเพิ่มข้อมูล Data Correct

การตรวจสอบการส่งข้อมูล HDC – ดูหน่วยงานที่ส่งข้อมูล

การตรวจสอบการส่งข้อมูล HDC – ดูรายละเอียด

การตรวจสอบการส่งข้อมูล HDC – ข้อมูลผิดปกติ

การตรวจสอบการส่งข้อมูล HDC – ข้อมูลผิดปกติ

การส่งข้อมูล 43 แฟ้ม สปสช. ส่งทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรือทุกเดือนดี ? ความถี่ เข้าใจลักษณะการนำเข้าข้อมูล ข้อมูลส่งไปถูกต้องแล้ว ส่งไปอีกจะไม่นำเข้า ต้องตรวจสอบข้อมูลทุกครั้งก่อนส่ง ตรวจจาก web OPPP ? ตรวจสอบ ตรวจสอบด้วย OPPP 2010 เบื้องต้น และตรวจสอบในเว็บ OPPP ข้อมูลที่ส่งไปแล้วไม่ถูกต้อง จะแก้ไข ? การแก้ไข ข้อมูลที่ถูกต้องตามโครงสร้างแล้วส่งใหม่ไม่ถูกแก้ไข Data Correct

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ตรวจสอบแล้ว

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – การส่งข้อมูล

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – การส่งข้อมูล

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ผ่านหรือไม่ผ่าน

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ผ่านหรือไม่ผ่าน

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ผ่านหรือไม่ผ่าน

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ผ่านหรือไม่ผ่าน

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ผ่านหรือไม่ผ่าน

การตรวจสอบการส่งข้อมูล OP/PP – ข้อมูลที่ผ่านหรือไม่ผ่าน

ตัวอย่างรายงานการตรวจสอบข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลควรมีการรายงานเพื่อให้เกิดการพัฒนา ตรวจด้วย OP/PP 2010 ตรวจจาก Web HDC ตรวจจาก Web OP/PP Individual Records ตัวอย่างรายงานการตรวจสอบข้อมูล

ประเด็นจากการพัฒนาระบบข้อมูล ยุคเสื่อมถอยของคุณภาพข้อมูลสาธารณสุข จรรยาบรรณในการจัดการข้อมูล ทำงานตามตัวชี้วัดมากกว่ากลยุทธ์ ข้อมูลไม่น่าเชื่อถือ เล่นกับข้อมูลมากกว่าบันทึกกิจกรรมบริการ ผู้บริหารสั่งให้ทำข้อมูล โดยไม่ได้ดูกระบวนการทำงาน มุ่งทำข้อมูลเพื่อเงินมากกว่าเอามาใช้ประโยชน์ บันทึกข้อมูล ไม่ได้เกิดจากบริการ ไม่มีเอกสารเชิงประจักษ์ ทำข้อมูลเท็จ เพื่อให้ผ่าน KPI ให้ได้งบประมาณ = คอรัปชั่น ทำงานตามตัวชี้วัด มากกว่าทำตามนโยบาย แผนงาน กลยุทธ์ กลวิธี กิจกรรม ตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ ไม่เกิด Output Outcome กับประชาชน

พัฒนาระบบข้อมูลให้มีคุณภาพ ขอบคุณ