ระบอบทรัพย์สินดิจิทัล ผศ.ดร. ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เงื่อนไขทางเศรษฐกิจสังคมข้ามพรมแดน Disruptive Technology & Neoliberal ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสร้าง “โอกาส” และ “ภัยคุกคาม” ให้ กลุ่ม/ชนชั้น/อาชีพ/เพศ หลากหลาย อย่าง “แตกต่าง” กัน กลุ่มที่ได้ประโยชน์จากความเปลี่ยนแปลง ก็คือ ผู้ทรงสิทธิตามระบอบกฎหมายเก่า กลุ่มเสี่ยง คือ ผู้ด้อยสิทธิตามระบอบกฎหมายเก่า ความเหลื่อมล้ำสังคมอาจเพิ่ม
ผลกระทบของความท้าทายในศตวรรษที่ 21 ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำต่อผู้คนจำนวนมากที่มิได้มีอำนาจในการจัดสรร หรือร่วมตัดสินใจในการสร้างระบบแบ่งปันผลประโยชน์ โครงการสร้างเศรษฐกิจสังคมปรับเข้าสู่ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและภาคบริการ ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 01 02 ความเหลื่อมล้ำจากความมั่งคั่งระหว่างช่วงอายุ (Generation War) 06 อาชีพอิสระแต่ไม่มั่นคง 03 ชีวิตส่วนบุคคลเปลี่ยนโฉมหน้า หน่วยทางสังคมเปลี่ยน 05 04
2 ข้อสังเกตเบื้องต้น
สมมติฐานงานวิจัย และคำถามงานวิจัย ความท้าทายอันเนื่องมาจากกระแสโลกาภิวัฒน์แบบลัทธิเสรีนิยมใหม่ในศตวรรษที่ 21 ผ่านการผลักดันของเทคโนโลยีสารสนเทศได้เปลี่ยนแปลงระบบการบริหารเวลาและพื้นที่อย่างลึกซึ้ง จนสร้างผลกระทบต่อผู้คนและสังคมไทยอย่างกว้างขวาง เมื่อระบอบกฎหมายภายในเดิมไม่อาจจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นยังผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำไม่เป็นธรรมแก่กลุ่มเสี่ยงที่ไม่ได้รับการประกันสิทธิ หากรัฐไทยจะลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม จำต้องปรับปรุงระบอบกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องรองรับกับความท้าทายที่ก่อตัวขึ้นอย่างไร
3 เป้าหมายของการศึกษา ระบอบทรัพย์สินดิจิทัล
เป้าหมายของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาและผลกระทบจากความท้าทายในศตวรรษที่ 21ซึ่งสร้างความเหลื่อมล้ำให้เกิดขึ้นในสังคมไทย สร้างองค์ความรู้เชิงเนื้อหาในการผลักดันเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อปฏิรูประบอบกฎหมายใหม่ลดความเหลื่อมล้ำอันเนื่องมาจากความท้าทายในศตวรรษที่ 21 01 02 นำองค์ความรู้มาเผยแพร่ให้กับ "ผู้มีส่วนได้เสีย" ที่กลุ่มเสี่ยงเจ้าของปัญหาเพื่อเรียกร้องต่อภาครัฐผู้ผลิตนโยบาย หรือ สร้าง “ฐานข้อมูล” ให้ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมซึ่งผลักดันประเด็นเกี่ยวข้องกับสิทธิและความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ 03
4 ขอบเขตของการศึกษา ระบอบทรัพย์สินดิจิทัล
สิทธิ 2 กลุ่มใหญ่ที่อาจได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลง ขอบเขตของการศึกษา สิทธิ 2 กลุ่มใหญ่ที่อาจได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลง 1. ความเสี่ยงต่อสิทธิทางสังคม >>> ความไม่มั่นคงในสิทธิประโยชน์, ความไม่มั่นคงในความสัมพันธ์, ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์ 2. ความเสี่ยงสิทธิทางเศรษฐกิจ >>> ความไม่มั่นคงในผลตอบแทนที่เป็นธรรมจากเศรษฐกิจดิจิทัล, ความมั่นคงของระบอบกรรมสิทธิเหนือทรัพย์สินดิจิทัล
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น ขอบเขตของการศึกษา แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น 1. ระบอบกฎหมายสวัสดิการ ความมั่นคงของแรงงานอิสระ ผู้ประกอบการรายย่อยในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล กลุ่มแรงงานอิสระ และผู้ประกอบการเสรีในยุคดิจิทัล https://pantip.com/topic/34143162
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น ขอบเขตของการศึกษา แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น 2. ระบอบกฎหมายสวัสดิการสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ไม่ได้ส่งเสริมความแน่นอนในหลักประกัน ความพร้อมบนความมั่นคงในทรัพย์สิน คู่ชีวิตที่อยากมีทายาทแต่รู้สึกไม่พร้อม https://www.chron.com/entertainment/books/article/Gayby-Boom-family-star-in-a-new-kids-book-10852745.php
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น ขอบเขตของการศึกษา แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น 3. ระบอบกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในสังคมความเสี่ยง โรคซึมเศร้า ระบบประกันสุขภาพและสวัสดิการสังคม สภาพการจ้างงาน ชั่วโมงในการทำงาน ความเครียดสะสม https://gmlive.com/247-depression-history https://med.mahidol.ac.th/th/news/announcements/08052015-0943-th
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น ขอบเขตของการศึกษา แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 ประเด็น 4. ระบอบกฎหมายแข่งขันทางการค้าของเศรษฐกิจแบ่งปัน และการรับจ้างอิสระ การแบ่งปันความเสี่ยง/ผลประโยชน์ ความเป็นธรรมระหว่างเจ้าของแพลตฟอร์ม กับ ผู้ให้บริการ และผู้ให้เช่าทรัพย์สินในเศรษฐกิจแบ่งปัน https://marketeeronline.co/archives/41014 https://qz.com/706767/racist-hosts-not-hotels-are-the-greatest-threat-to-airbnbs-business/
แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 กลุ่มเสี่ยง ขอบเขตของโครงการวิจัย แนวทางลดความเหลื่อมล้ำผ่าน 5 ระบอบกฎหมาย ครอบคลุมสิทธิ 5 กลุ่มเสี่ยง 5. ระบอบกฎหมายทรัพย์สินดิจิทัล อวัตถุ–ไอเท่ม ข้อมูล ผู้ประกอบการรายย่อยและผู้ใช้บริการในแพลตฟอร์มดิจิทัล ใครเป็นเจ้าของทรัพย์สิน https://mhealthintelligence.com/news/cleveland-clinic-offers-patients-mobile-health-data-access https://www.windowscentral.com/neverwinter-chat-guide
ใครเป็นเจ้าของโดเมนเนม
ขอบคุณครับ