นางนวลจันทร์ อุตมหาราช The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สรุปสาระสำคัญและกระบวนการในการปฏิบัติงาน พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดย... นางนวลจันทร์ อุตมหาราช คลังเขต 3
หลักการและเหตุผล สร้างความเชื่อมั่นให้กับทุกภาคส่วน การจัดซื้อจัดจ้างมีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูล เพื่อความโปร่งใส และมีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม คำนึงถึงวัตถุประสงค์การใช้งานเป็นสำคัญ เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน เน้นการวางแผนและประเมินผลเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริมให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อตรวจสอบและป้องกันการทุจริต การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการเปิดเผยโปร่งใส
กฎหมาย ระเบียบ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง ระเบียบ กค ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างฯ 2560 กฎกระทรวงซึ่งออกตามความ ใน พรบ. - ประกาศ -หนังสือเวียน พ.ร.บ.จัดซื้อ จัดจ้างฯ 2560 ประกาศในราชกิจจาฯ เมื่อ 23 ส.ค.2560 มีผลบังคับใช้ 24 ส.ค.2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 ก.พ.2560 มีผลบังคับใช้ 23 ส.ค.2560 1.ด่วนที่สุดที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 322 ลว. 24 ส.ค.2560 2.ด่วนที่สุดที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 336 ลว. 4 ก.ย.2560 3.ด่วนที่สุดที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 346 ลว. 4 ก.ย.2560 4.ด่วนที่สุดที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 347 ลว. 4 ก.ย.2560 กฎกระทรวง 7 ฉบับ ประกาศ ณ วันที่ 23 ส.ค.2560
มหาวิทยาลัย ในกำกับ ของรัฐ ขอบเขตการบังคับใช้ ราชการ ส่วนภูมิภาค ราชการ ส่วนท้องถิ่น ราชการส่วนกลาง รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระของรัฐ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานอื่นๆ มหาวิทยาลัย ในกำกับ ของรัฐ
พระราชบัญญัติ 15 หมวด 132 มาตรา คำนิยาม 1. บททั่วไป 2. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการ ป้องกันการทุจริต 3 คณะกรรมการ 4. องค์กรสนับสนุนดูแลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ 5. การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
พระราชบัญญัติ 6. การจัดซื้อจัดจ้าง 7. งานจ้างที่ปรึกษา 8. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง 9. การทำสัญญา 10. การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ 11. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ
พระราชบัญญัติ 12. การทิ้งงาน 13. การบริหารพัสดุ 14. การอุทธรณ์ 15. บทกำหนดโทษ บทเฉพาะกาล
หลักการจัดซื้อจัดจ้าง มาตรา 8 หลักการจัดซื้อจัดจ้าง โปร่งใส ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรวจสอบได้ คุ้มค่า มีคุณลักษณะตอบสนองวัตถุประสงค์การใช้งาน และมีราคาเหมาะสม เปิดเผยข้อมูล เปิดโอกาสให้แข่งขัน อย่างเป็นธรรม มีระยะเวลาเพียงพอต่อการยื่นข้อเสนอ วางแผนการจัดซื้อจัดจ้าง มีการกำหนดเวลาที่เหมาะสม และมีการประเมินผล เก็บข้อมูลเป็นระบบ เพื่อการตรวจสอบ
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง มาตรา 11 การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง ต้องจัดทำแผนทุกปี และประกาศเผยแพร่ 1. กรณีเร่งด่วนหรือ ใช้ในราชการลับ 2. กรณีที่มีวงเงินตามที่กำหนดหรือมีความจำเป็นฉุกเฉิน หรือที่จะขายทอดตลาด 3. การจ้างที่ปรึกษาที่มีวงเงินค่าจ้างตามกำหนดหรือเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ 4. กรณีงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างที่เร่งด่วนหรือเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ ยกเว้น
หมวด 2 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการ ในการป้องกันการทุจริต มาตรา 18 ข้อตกลงคุณธรรม ข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานเจ้าของโครงการ ผู้เสนอราคา และ ผู้สังเกตการณ์ โดยตกลงร่วมกันว่าจะไม่กระทำการทุจริตในเรื่อง การจัดซื้อจัดจ้าง ผู้สังเกตการณ์ เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในโครงการ การที่เข้าร่วมสังเกตการณ์ มีความเป็นกลางและไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ในโครงการนั้นๆ การเข้าร่วมสังเกตการณ์ ตั้งแต่การจัดทำร่าง TOR จนถึงสิ้นสุดโครงการ
หมวด 3 คณะกรรมการ คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 20) จำนวน 17 – 19 คน คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 27) จำนวน 15 – 17 คน คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ (มาตรา 32) จำนวน 20 – 25 คน คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต (มาตรา 37) จำนวน 14 – 16 คน คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และข้อร้องเรียน (มาตรา 41)
หมวด 4 องค์กรสนับสนุนดูแลการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการในคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติ จัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตามหลักวิชาชีพ รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินผลการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ จัดทำฐานข้อมูลราคาอ้างอิง ดูแลและพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้กรมบัญชีกลางเป็นองค์กรสนับสนุนและดูแลระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
หมวด 5 การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ ให้คณะกรรมการราคากลางกำหนดหลักเกณฑ์ในการขึ้นทะเบียน ผู้ประกอบการก่อสร้าง สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการพัสดุอื่น ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการราคากลางเห็นสมควร ให้กรมบัญชีกลางประกาศรายชื่อผู้ประกอบการที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ในกรณีที่กรมบัญชีกลางได้ขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการไว้แล้ว หน่วยงาน ของรัฐไม่ต้องจัดให้มีการขึ้นทะเบียนอีก
วิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ 3 วิธี หมวด 6 การจัดซื้อจัดจ้าง วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะ เจาะจง เชิญชวนให้ผู้ประกอบการทั่วไป ที่มีคุณสมบัติตรง ตามเงื่อนไขที่กำหนดเข้ายื่นข้อเสนอ วิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ 3 วิธี เชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดซึ่งต้อง ไม่น้อยกว่า 3 ราย ให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ ผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามกำหนดน้อยกว่า 3 ราย หน่วยงานภาครัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอหรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคากับหน่วยงานของรัฐโดยตรง
เกณฑ์ในการพิจารณาข้อเสนอ (มาตรา 65 วรรคหนึ่ง) ต้นทุนของพัสดุนั้น ตลอดอายุการใช้งาน มาตรฐาน ของสินค้า หรือบริการ ผลการประเมิน ผู้ประกอบการ ราคา บริการหลังการขาย เป็นพัสดุที่รัฐ ต้องการส่งเสริม หรือสนับสนุน ข้อเสนอด้านเทคนิคหรือข้อเสนออื่น ในกรณีที่กำหนดให้มีการยื่นข้อเสนอ ด้านเทคนิคหรือข้อเสนออื่น ก่อนตามวรรคหก
หมวด 15 บทกำหนดโทษ มาตรา 120 ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้โดยทุจริตต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับ ตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ใดเป็นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในการกระทำความผิด ตามวรรคหนึ่ง ผู้นั้นต้องระวางโทษตามที่กำหนดไว้สำหรับความผิดตามวรรคหนึ่ง
The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สรุปประเด็นความแตกต่าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 ใช้บังคับกับหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง ได้แก่ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยธุรการของศาล มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานสังกัดรัฐสภา หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง (มาตรา 6 วรรคหนึ่ง)
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้างฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานของรัฐ (มาตรา 11)
ภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริต พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 การมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริต (หมวด 2 มาตรา 16-19)
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 เปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางในทุกขั้นตอน ตั้งแต่ขั้นตอนการจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง การประกาศเชิญชวน ราคากลาง เกณฑ์การพิจารณา ข้อเสนอ การประกาศผลผู้ชนะ การยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้าง (มาตรา 11, 62,63, 65,66,67)
คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 20) พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 20) คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 27) คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ (มาตร 32) คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต (มาตรา 37) คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน (มาตรา 41)
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะยื่นข้อเสนอหรือเข้าทำสัญญากับหน่วยงานภาครัฐ ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกพักการเสนอราคาหรือทำสัญญากับหน่วยงานภาครัฐไว้ชั่วคราวจนกว่าจะมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (มาตรา 106-108)
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560
พิจารณา โดยคณะกรรมการอุทธรณ์ พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 หมวด 14 การอุทธรณ์ พิจารณา โดยคณะกรรมการอุทธรณ์ (มาตรา 114 -119)
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง ฯ 2560 บทกำหนดโทษ ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริตต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนรับโทษตามที่กำหนดไว้ (มาตรา 120)