อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
แผนธุรกิจ ARTTYLEATHER SHOP กิจกรรม “ การพัฒนาศักยภาพการบริหารธุรกิจในอุตสาหกรรมแฟชั่น ” ภายใต้ โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย.
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บริษัท The Best Gems จำกัด
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
วิชาการจัดการบริการสำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Supply Chain Logistics
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน) TIM2303 การขายและการตลาดในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว Sales and Marketing in Tourism Industry อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)

องค์ประกอบของตลาดการท่องเที่ยว 1.ผู้ซื้อ ได้แก่ นักท่องเที่ยว นักทัศนาจร ทั้งภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ ความต้องการเดินทางท่องเที่ยวและบริโภคสินค้าการ ท่องเที่ยวมีความยืดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงสูงมากเนื่องจากปัจจัยทาง เศรษฐกิจ สังคม ราคาการท่องเที่ยว ฤดูกาล สมัยนิยม รสนิยม ทัศนคติ ประสบการณ์ท่องเที่ยว และเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ สิ่งสำคัญ ของการวางแผนการตลาด คือต้องทราบความต้องการของตลาด (Demand) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1.1 ความต้องการปัจจุบัน (Actual Demand) 1.2 ความต้องการที่มีแนวโน้ม (Potential Demand) 1.3 ความต้องการที่อาจเกิดขึ้น (Deferred Demand)

2.ผู้ขาย  ได้แก่ ผู้ประกอบธุรกิจจัดหาสินค้าและบริการการท่องเที่ยว (Travel Suppliers) ผลิตวัตถุดิบในลักษณะการแปรรูปสินค้าและบริการเช่น ที่พักในโรงแรมการ เดินทางโดยเครื่องบิน การบริการอาหารและเครื่องดื่ม การเข้าชมการแสดงในสถานที่และแหล่ง ท่องเที่ยวต่างๆ  3.สินค้าและบริการ 3.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวทั้งประเภทที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น 3.2 ที่พักร้านอาหาร 4.การขนส่ง

5.ปัจจัยสนับสนุนอุตสาหกรรมท่องเที่ยว      5.1 โครงสร้างพื้นฐานทางการท่องเที่ยว   5.2. บริการนำเที่ยว 5.3. สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ   5.4.  สินค้าของที่ระลึก

ลักษณะพิเศษของตลาด • เป็นบริการที่ไม่มีตัวตนจับต้องไม่ได้ เช่น ความพอใจ ความสุขใจ ความตื่นเต้น • การตัดสินใจซื้อใช้อารมณ์มากกว่าสินค้าประเภทอื่น • ไม่สามารถจัดส่งบริการท่องเที่ยวให้กับลูกค้า นักท่องเที่ยวต้อง เดินทางมาซื้อบริการด้วยตนเอง • ไม่สามารถควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของการบริการได้ • อุปสงค์ของการตลาดขึ้นลงตามฤดูกา • บริการของตลาดการท่องเที่ยวไม่สามารถเก็บไว้ใช้ได • องค์ประกอบของสินค้าทางการทอ่งเที่ยวมีความเป้นอิสระต่อกัน • การลอกเลียนแบบทำได้ง่าย

ความแตกต่างระหว่างการตลาดธุรกิจบริการกับการตลาดของสินค้าทั่วไป 1.จับต้องได้ 2.สามารถแบ่งแยกได้ 3.มีความแน่นอน 4.จัดทำมาตรฐานได้ง่าย 5.เก็บรักษาได้ บริการ 1.ไม่สามารถจับต้องได้ 2.ไม่สามารถแบ่งแยกได้ 3.มีความไม่แน่นอน 4.จัดทำมาตรฐานได้ยาก 5.ไม่สามารถเก็บรักษาได้

ลักษณะของอุตสาหกรรมบริการ  อุตสาหกรรมการบริการ เป็นธุรกิจที่มีลักษณะเฉพาะที่พิเศษแตกต่างจากธุรกิจการผลิตสินค้าและการ จำหน่ายสินค้า การบริการจัดเป็นสินค้ารูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีคุณลักษณะพิเศษดังนี้ 1. อุตสาหกรรมการบริการเป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตนจับต้องไม่ได้ (Intangivility) เป็นลักษณะของ นามธรรม ผู้บริโภคไม่อาจประเมินได้ด้วยสายตาหรือการสัมผัสจับต้อง ซึ่งสินค้าโดยทั่วไปเรา สามารถเห็นจับต้องหรืออาจทดลองใช้ได้ก่อน แต่สินค้าบริการเราประเมินผลด้วยความประทับใจ ความพอใจ หรือความไม่พอใจ และไม่อาจทดลองใช้ก่อนได้       2. อุตสาหกรรมการบริการไม่สามารถแยกออกจากกันได้ (Insparability) เช่น อุตสาหกรรม การบริการอาหาร ที่ผลิตอาหารพร้อมกับการให้บริการเสริฟไปด้วยกัน เราไม่สามารถแยกออกจากกันได้

3. อุตสาหกรรมบริการมีลักษณะแตกต่างกันในการให้บริการ แต่ละครั้ง (Heterogenity) สินค้าบริการยากที่จะควบคุมมาตรฐานการบริการให้คงที่ และแน่นอนได้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ของผู้ให้บริการ ซึ่งบางวันอาจมีตัวแปรมากระทบทำให้เปลี่ยนไป  4. อุตสาหกรรมการบริการ มีลักษณะสูญเสียได้ง่าย (Perishability) เป็นลักษณะสินค้าที่ เก็บรักษาไว้ไม่ได้ เช่น ธุรกิจโรงแรมไม่สามารถให้ห้องพักว่าง หรือโต๊ะรับประทานอาหารในธุรกิจ ร้านอาหารว่าง ที่นั่งในสายการบินว่าง เพราะนั่นคือการสูญเสียรายได้ ต้องทำทุกอย่างให้เกิดการ ขาย สินค้าทั่วไปหากสินค้าเหลือในวันนี้ก็อาจเก็บไว้ขายในวันหน้า ยอดรายได้ที่เข้ามาก็ยังคงเดิม แต่สินค้าในอุตสาหกรรมการบริการหากเหลือนั่นหมายถึงการสูญเสีย ดังนั้นอุตสาหกรรมการ บริการจึงไม่มีคลังสินค้า

                5. อุตสาหกรรมการบริการมีอุปสงค์ไม่แน่นอน (Fluctuation Demand) อุปสงค์ของการบริการขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ ดังนั้น อุตสาหกรรมการบริการจึงมีสภาวะของรายได้ที่ไม่แน่นอนติดตามมาด้วยบ ซึ่งเป็นผลจากอุป สงค์ที่ไม่แน่นอนของผู้รับบริการนั่นเอง จึงจะเห็นได้ว่ามีการแบ่งฤดูของการบริการที่จะมี ความสูงต่ำของรายได้เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ         6. อุตสาหกรรมการบริการใช้แรงงานมาก (Labour Intensive) อุตสาหกรรม การบริการจำเป็นต้องอาศัยแรงงานมนุษย์ในการผลิต และจำหน่าย เครื่องจักรกลมีส่วนน้อย มากในการผลิตงาน แรงงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ และต้องเป็นแรงงานที่มีทักษะเฉพาะด้านอีก ด้วย

                7. อุตสาหกรรมการบริการมีช่องทางการจัดจำหน่ายอยู่ ณ จุด ขาย ซึ่งผู้ใช้บริการมักจะต้องมาหาผู้ผลิตบริการเอง สินค้าโดยทั่วไปจะมี ช่องทางการจัดจำหน่ายอยู่หลายช่องทาง หลายรูปแบบ เช่น นายหน้า ตัวแทนจำหน่าย พ่อค้าขายส่ง พ่อค้าคนขายปลีก ฯลฯ แต่อุตสาหกรรม การบริการโดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นการขายปลีก