บทที่ 2 การจัดองค์กรขนส่ง 2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Retail Organization & HRM Chapter 4. Chapter topics  The organizational structure  Process of organizing  Retail tasks  Classifying jobs  Hierarchical.
Advertisements

Foundations of Management Understanding
Organization Management
การจัดการ Management ความหมาย
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
หน้าต่างหลัก ของโปรแกรม Project Management เป็นโปรแกรมที่ ช่วยดูแล การ จัดการของงาน ต่างๆ ให้มี ความเป็น ระเบียบ และ ตรวจสอบการ ทำงานได้ง่าย ยิ่งขึ้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
Office of The National Anti-Corruption Commission
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การจัดองค์กรและกำหนดงานในภาวะฉุกเฉิน
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
Control Charts for Count of Non-conformities
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
4.
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
Organization Design.
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
อาจารย์ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โครงการพัฒนาลดอัตราการติดเชื้ออช.1
หลุยส์ ปาสเตอร์  (Louis Pasteur).
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
ความหมายของการจัดโครงสร้างองค์การ
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการและองค์ประกอบสำคัญของ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS Features and Principles)
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
จุดประสงค์รายวิชา.
ศิลปวัฒนธรรมไทยกับการสร้างเสริมสุขภาพ Aerobic dance into culture
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างองค์การ โครงสร้างตำแหน่งและโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน บทที่ 4. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
การพัฒนาหน่วยทดสอบการระคายเคืองในสัตว์ทดลองตามข้อกำหนด OECD GLP
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
องค์การและการจัดการ Organization and management (Mpp 5504)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นัทนิชา หาสุนทรี สาขา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การจัดองค์กรขนส่ง 2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล องค์กร”เกิดจากการที่มนุษย์รวมกลุ่มกันเพื่อทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง เพื่อตอบความสนองความต้องการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การรวมตัวกันของคนในสมัยก่อนเพื่อการล่าสัตว์มาเป็นอาหาร การสร้างที่อยู่อาศัย การรวมตัวในลักษณะนี้ยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ของคนในกลุ่ม โดยนำเอาการรวมกลุ่มเป็นเครื่องมือในการกำหนดความสัมพันธ์ จนกลายมาเป็นรูปแบบขององค์กรในปัจจุบัน ที่เป็นการร่วมตัวกันเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ มากกว่าการที่รวมตัวกันโดยสัญชาตญาณของมนุษย์เอง อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล ในปัจจุบันนี้กิจกรรมแบบองค์กรได้ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับด้วยเหตุผล 4 ประการคือ 1. เงื่อนไขจากสิ่งแวดล้อม เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมวัฒนธรรมชนบท (Rural Culture) มาเป็นสังคมวัฒนธรรมเมือง (Urban Culture) 2. เงื่อนไขจากมนุษย์มีผลกระทบต่อการสร้างแรงจูงใจให้มนุษย์ก่อตั้งองค์กรใหม่ขึ้นมาที่เกิดจากการเรียนรู้วิธีการในการกำหนดความความสัมพันธ์ 3. เงื่อนไขจากองค์กร เมื่อมีการตั้งองค์กรในระยะหนึ่งจะเกิดการสร้างวัฒนธรรมในองค์กร 4. เงื่อนไขจากสังคม การเกิดวิวัฒนาการทางสังคมต่างๆ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล ความหมายขององค์กร Alvin Brown กล่าวว่า องค์กร หมายถึง หน้าที่ซึ่งสมาชิกแต่ละคนของหน่วยงานถูกคาดหมายให้ประพฤติปฏิบัติและถูกคาดหมายความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเพื่อนำไปสู่วัตถุประสงค์ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นความหมายที่เน้น ภารกิจหน้าที่ Louis Allen  กล่าวว่า องค์กร พิจารณาองค์กรในแง่ของโครงสร้างซึ่งเป็นกลไกที่ทำให้ชีวิตสามารถร่วมกันทำงานได้ดีโดยต้องมีการจัดกลุ่มทำงาน กำหนดและมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบ กำหนดความสัมพันธ์ให้บรรลุถึงเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นความหมายที่เน้น กระบวนการ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล ความหมายขององค์กร Talcott Parsons กล่าวว่า มององค์กรในแง่เป็น หน่วยงานหนึ่งของสังคม (Social Unit) คือ เป็นกลุ่มที่ถูกสร้างขึ้นอย่างรอบคอบและมีการปรับปรุงตามกาลเวลาเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายอย่างเฉพาะทาง จากความหมายขององค์กร จะสามารถมองเห็นได้ว่าความสำคัญขององค์กรนั้นเป็นสิ่งที่จำและขาดไม่ได้ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล การจัดองค์กร คือการกำหนดโครงสร้างขององค์การอย่างเป็นทางการ โดยการจัดแบ่งออกเป็นหน่วยงานย่อยต่างๆ กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานไว้ให้ชัดเจน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานย่อยเหล่านั้น ทั้งนี้ เพื่อให้เอื้อต่อการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.2 ความสำคัญของการจัดองค์กร องค์กรเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การงานกันทำ และมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ต้องทำมีมาก ก็จะต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกันเรียกว่า ฝ่ายหรือแผนกงาน แล้วจัดให้คนที่มีความสามารถในงานนั้นๆ มาปฏิบัติงานรวมกันในแผนกนั้น และตั้งหัวหน้าขึ้นรับผิดชอบควบคุม อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.2 ความสำคัญของการจัดองค์กร อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.2 ความสำคัญของการจัดองค์กร ประโยชน์ต่อองค์กร (1) การจัดโครงสร้างองค์การที่ดีและเหมาะสมจะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ (2) ทำให้งานไม่ซ้ำซ้อน ไม่มีแผนกงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วย (3) องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายๆ ตามความจำเป็น อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.2 ความสำคัญของการจัดองค์กร ประโยชน์ต่อผู้บริการ (1) การบริหารงานง่าย สะดวก รู้ว่าใครรับผิดชอบอะไร มีหน้าที่ทำอะไร (2) แก้ปัญหาการทำงานซ้ำซ้อนได้ง่าย (3) ทำให้งานไม่คั่งค้าง ณ จุดใด สามารถติดตามแก้ไขได้ง่าย (4) การมอบอำนาจทำได้ง่าย ขจัดปัญหาการเกี่ยงกันทำงานหรือปัดความรับผิดชอบ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.2 ความสำคัญของการจัดองค์กร ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน (1) ทำให้รู้อำนาจหน้าที่และขอบข่ายการทำงานของตนว่ามีเพียงใด (2) การแบ่งงานให้พนักงานอย่างเหมาะสม ช่วยให้พนักงานมีความพอใจ ไม่เกิดความรู้สึกว่างานมากหรือน้อยเกินไป (3) เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงาน (4) พนักงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ ทำให้สามารถติดต่อกันได้ดียิ่งขึ้น อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ การกำหนดหน้าที่การงาน การกำหนดหน้าที่ของงาน (function) นั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ขององค์การหน้าที่การงานและภารกิจจึงหมายถึงกลุ่มของกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติที่ต้องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ หน้าที่การงานจะมีอะไรบ้างและมีกี่กลุ่มขึ้นอยู่กับเป้าหมายขององค์การ ลักษณะขององค์การ และขนาดขององค์การด้วย อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ หน่วยงานสำคัญขององค์การ กำหนดหน่วยงานสำคัญขององค์การ เป็นการกำหนดหน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบงานต่างๆ จะปฏิบัติประกอบด้วย 1. หน่วยงานหลัก (Line) หมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่โดยตรงกับวัตถุประสงค์ขององค์การเพื่อผลประโยชน์โดยตรงต่อความสำเร็จขององค์การ (1) บริษัททำหน้าที่มีผลิตสินค้างานหลัก คือฝ่ายผลิต (2) บริษัทร้านสรรพสินค้า งานหลัก คือฝ่ายขาย (3) วิทยาลัยเกษตร งานหลัก ฝ่ายเกี่ยวการสอน 2. หน่วยงานที่ปรึกษา(Staff) หมายถึง หน่วยงานที่ช่วยให้หน่วยงานหลักปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น จะเป็นเชี่ยวชาญเฉพาะงานหรือเป็นคณะกรรการปรึกษา 3. หน่วยงานอนุกรม (Auxiliary) หมายถึง หน่วยงานที่ช่วยบริการแก่หน่วยงานหลักและหน่วยงานที่ปรึกษา อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ สายการบังคับบัญชา (Chin of Command) สายการบังคับบัญชา หมายถึง ความสัมพันธ์ตามลำดับชั้นระหว่างผู้บังคับบัญชา เพื่อให้ทราบว่าการติดต่อสื่อสารมีทางเดินอย่างไร สายการบังคับบัญชาที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. จำนวนชั้นแต่ละสายไม่ควรมีจำนวนมากเกินไป 2. สายการบังคับบัญชาต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจน 3. สายการบังคับบัญชาไม่ควรก้าวก่ายกันหรือไม่ควรซ้อนกัน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ ช่วงการควบคุม (Span of Control) หมายถึง สิ่งที่แสดงให้ทราบว่าผู้บังคับบัญชาคนหนึ่งมีขอบเขตความรับผิดชอบเพียงใด มีผู้ใต้บังคับบัญชากี่คน ในอดีตหัวหน้างาน 1 คน ต้องดูแลรับผิดชอบผู้ใต้บังคับบัญชา 10-20 คน จึงจะเหมาะสม อย่างไรก็ตามช่วงการควบคุมจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 1. ความสามารถของผู้บังคับบัญชา        2. การได้รับการฝึกฝนอบรมของพนักงาน หมายความว่า หากพนักงานได้รับการฝึกฝนอบรมมีความรู้ดีการบังคับบัญชาก็จะง่าย       3. ความยุ่งยากสลับซับซ้อนของงาน       4. ความสัมพันธ์กับหน่วยงานอื่น หากมีความสัมพันธ์มากผู้บังคับบัญชาก็ต้องใช้ผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนมากขึ้น       5. ลักษณะการควบคุมแบบต่างๆ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ ช่วงการควบคุมที่กว้างมาก ผู้บังคับบัญชา 1 คนรับผิดชอบผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนมาก อาจเรียกว่า ช่วงการควบคุม 10 คน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ ช่วงการควบคุมที่กว้าง ผู้บังคับบัญชา 1 คนรับผิดชอบผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนมาก อาจเรียกว่า ช่วงการควบคุม 5 คน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ ช่วงการควบคุมที่แคบ ผู้บังคับบัญชา 1 คน รับผิดชอบผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนน้อย อาจเรียกว่า ช่วงการควบคุม 3 คน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ ช่วงการควบคุมแบบสูง ผู้บังคับบัญชา 1 คน รับผิดชอบผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนน้อย อาจเรียกว่า ช่วงการควบคุม 2 คน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.3 หลักการจัดองค์การ ช่วงการควบคุมแบบสูง ผู้บังคับบัญชา 1 คน รับผิดชอบผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนน้อย อาจเรียกว่า ช่วงการควบคุม 2 คน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.4 เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) เอกภาพในการบังคับบัญชา หมายถึง อำนาจการควบคุมบังคับบัญชาซึ่งรวมอยู่ที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะบุคคลหนึ่งบุคคลใดอย่างชัดเจน ทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้การปฏิบัติหน้าที่ก้าวก่ายกัน และมุ่งทำให้เกิดเอกภาพในการบริหาร อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.5 แผนภูมิขององค์การ (Organization Chart) แผนภูมิขององค์การ คือ เครื่องมือที่ช่วยให้เข้าใจโครงสร้างขององค์การ รู้อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบตลอดจนสายบังคับบัญชาในองค์การนั้น สัญญาลักษณ์แผนภูมิแสดงการจัดโครงสร้างทั้งหมดขององค์การว่าประกอบด้วย 1 แทนบังคับบัญชา ใช้กล่องสี่เหลี่ยมหนา 2 แทนหน่วยงานย่อย ใช้กล่องสี่เหลี่ยมบาง 3 แสดงสายบังคับบัญชา ใช้เส้นทืบ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.5 แผนภูมิขององค์การ (Organization Chart) ประเภทของแผนภูมิองค์การ มีการแบ่ง 3 ประเภท (1) แผนภูมิโครงสร้างหลัก (Skeleton Cahrt) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.5 แผนภูมิขององค์การ (Organization Chart) ประเภทของแผนภูมิองค์การ มีการแบ่ง 3 ประเภท (2) แผนภูมิแสดงตัวบุคคล (Personnel Chart) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.5 แผนภูมิขององค์การ (Organization Chart) ประเภทของแผนภูมิองค์การ มีการแบ่ง 3 ประเภท (3) แผนภูมิแสดงหน้าที่การงาน (Function Chart) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.6 ขั้นตอนและข้อเสนอแนะในการเขียนแผนภูมิ 1. รวบรวมหน้าที่ต่างๆ ตามที่กำหนดไว้ในการแบ่งงาน 2. จัดประเภทของงาน งานที่คล้ายกันให้อยู่แผนกและฝ่ายเดียวกัน 3. กำหนดตำแหน่งงานโดยคำนึงถึงอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ และความสำคัญ ของงาน 4. กำหนดชนิดของแผนภูมิ 5. เขียนชื่อเรื่องของแผนภูมิ อันประกอบด้วย 5.1 ชื่อของหน่วยงานหรือชื่อองค์การนั้น ๆ 5.2 ชื่อของแผนภูมิตามกิจกรรม เช่น "แผนภูมิแสดงแบ่งส่วน ราชการ" "แผนภูมิ สายทางเดินของงาน" ฯลฯ 5.3 ใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แทนหน่วยงาน หรือตำแหน่ง หรือบุคคล และควรมีขนาดเท่ากันโดยกำหนดตำแหน่งสูงสุดให้รูปใหญ่กว่าตำแหน่งรอง ๆ ลงไป อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.6 ขั้นตอนและข้อเสนอแนะในการเขียนแผนภูมิ 5.4. จัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้ตำแหน่งสูงต่ำลดหลั่นตามสายงานการบังคับบัญชาหน่วยงานใดที่มีความสำคัญมีอำนาจหน้าที่เท่ากัน ก็ให้อยู่ในระดับเดียวกัน           5.5 ลากเส้นสายการบังคับบัญชาผ่านรูปสี่เหลี่ยม ใช้เส้นตรงตามขวางและตามยาวขีดเชื่อมโยงแทนสายการบังคับ บัญชา และไม่ควรลากผ่านทะลุรูปสี่เหลี่ยมแทนที่หน่วยงานหรือบุคคลเป็นอันขาด           5.6 พวกที่ทำหน้าที่ปรึกษา (Staff) ให้เขียนไว้ต่างหากตามระดับของหน่วยงานที่ให้คำปรึกษาถ้ามีอยู่หน่วยเดียวให้เขียนไว้ทางซ้ายมือ           5.7 การเขียนเส้นสายการบังคับบัญชาตามลำดับสายงาน  7. ให้ใช้เส้นทึบหนา หรือเส้นหนักแทนสายการบังคับบัญชาโดยตรงในหน้าที่หลัก ส่วนหน่วยงานที่ปรึกษาให้ใช้เส้นบางหรือจุดไข่ปลาแทน อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.7 ตัวอย่างแผนภูมิองค์กรขนส่ง http://transport-spiritoakclub.blogspot.com/ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.8 อ้างอิง http://knowledge584.blogspot.com/p/4.html https://www.dek-d.com/board/view/2576424/ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

2.9 แบบฝึกหัด ใบงานที่ 3 จงสรุป โครงสร้างขององค์กร บริษัท ฮ่องจือจั่นขนส่ง (2518) จำกัด เป็นแผนภูมิ และอธิบายหน้าที่ตำแหน่งงาน ตามความเข้าใจ (10 คะแนน) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์