นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พีระพงศ์ ชมภูมิ่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ, ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคมวัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก
ประชาคมอาเซียน-> สาธารณสุข ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub, วิชาชีพ ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ AEC อยู่ดีกินดี ตลาดรวม ASCC สวัสดิการ สังคม APSC ปลอดภัย มั่นคง MDG คุณภาพชีวิต -สิทธิมนุษยชน -สวัสดิการสังคม -ความเท่าเทียม, -อนามัยเจริญพันธุ์ -ผู้สูงอายุ ผู้พิการ -แรงงานต่างด้าว – พัฒนาสุขภาพ –ส่งเสริมสุขภาพ -สิ่งแวดล้อม -ป้องกันโรค HIV IHR -ด่าน - อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหาร สิทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ายาเสพติด การก่อการร้าย อาวุธชีวภาพ ความร่วมมือด้าน สาธารณภัย และเมื่อวิเคราะห์ในแต่ละ Blueprint แล้วจะมีเรื่องที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขอยู่มากมาย คือ 1. เสา APSC มีเรื่องของ สิทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ายาเสพติด การก่อการร้าย อาวุธชีวภาพ ความร่วมมือด้าน สาธารณภัย 2. เสา AEC เป็นเรื่องที่รัฐบาลให้ความสำคัญมาก คือ ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub วิชาชีพ (แพทย์ทันตแพทย์ พยาบาล) ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ 3 เสา ASCC เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุขมากที่สุดและเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทย คือ MDG คุณภาพชีวิต สิทธิมนุษยชน สวัสดิการสังคม ความเท่าเทียม, อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ แรงงานต่างด้าว พัฒนาสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค HIV IHR ด่าน อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหา
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political Security Community APSC เป้าหมาย 1. การมีกฎ กติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2. มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3. มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4. มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5. มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6. มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7. มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง
ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 1. สุขภาพคนไทยอาจแย่ลง การไหลทะลักของสินค้าทำลายสุขภาพ เช่น เหล้า สุรา ฯลฯ อาหารและยาที่ไม่ได้มาตรฐานเข้ามามาก การแพร่กระจายของโรคติดต่อ การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ 2. บริการสุขภาพถูกแย่งชิงทั้งจากกลุ่มคนฐานะดีและแรงงานข้ามชาติ 3. ความเหลื่อมล้ำระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน คนรวยคนจน ก่อปัญหา ยาเสพติด
ผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ ข้อมูลจากการสำมะโนประชากรและการเคหะปี ๒๕๕๓ - ประชากรที่ไม่ได้ถือสัญชาติไทย ประมาณ ๒.๗ ล้านคน (ร้อยละ ๔.๑ ของประชากรทั่วประเทศ) - มากกว่าครึ่งอาศัยอยู่ใน กทม และภาคกลาง - ร้อยละ ๙๐ เป็นแรงงานข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน คาดว่ายังมีแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่เข้าเมืองแบบผิดกฏหมาย > ๑ ล้านคน (รวมแรงงานต่างชาติไม่ต่ำกว่า ๓ ล้านคน)
ตัวอย่างผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ (ต่อ) การเพิ่มขึ้นของแรงงานข้ามชาติมีผลโดยตรงกับความสามารถในการรองรับของระบบบริการสุขภาพ - อัตราการครองเตียงของแรงงานต่างด้าวโรงพยาบาลในพื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติจำนวนมาก (ชายแดน เขตอุตสาหกรรม - การสื่อสารมีปัญหา - ภาระค่ารักษาพยาบาล - โรคติดเชื้อและโรคเรื้อรัง เช่น วัณโรค เท้าช้าง มาลาเรีย - อนามัยแม่และเด็ก (ทารกน้ำหนักน้อยอยู่ใน รพ. นาน ที่มา: เวทีวิชาการ “ สุขภาพแรงงานข้ามชาติ: ทางออกที่เหมาะสมเพื่อสร้างความ เป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพ โรงแรมทีเคพาเลช ๑๕ ตค. ๕๕
การเตรียมความพร้อมเข้า สู่ประชาคมอาเซียน กระทรวงสาธารณสุข
๑. การสนับสนุนการเป็นเมืองศูนย์กลาง บริการสุขภาพในอาเซียน พัฒนาศักยภาพ รพศ.ขนาดใหญ่ที่ต้องเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการในภูมิภาค 5 แห่ง (รพ. เชียงรายฯ, รพ. สรรพสิทธิประสงค์, รพ. พหลฯ, รพ. หาดใหญ่, รพ. พระปกเกล้า) พัฒนาศักยภาพของ รพ. ขนาดกลางและขนาดเล็กตามแนวตะเข็บชายแดน 50 แห่ง พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศและศูนย์วิจัยพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างๆ (เทคโนโลยีทันต กรรม เครือข่ายโรคผิวหนังรวมทั้งการปลูกถ่ายรากผม จักษุกรรม การป้องกันตาบอดจาก เบาหวาน สนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้แก่สถานบริการในจังหวัดที่เป็นเมืองสุขภาพ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สื่อต่างๆ รองรับการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพสถานบริการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในโรงพยาบาลภาครัฐ และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ
๒. การใช้ภารกิจด้านสาธารณสุขเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการลงทุน เพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน พัฒนาระบบการคัดกรอง ณ ด่านช่องทางเข้า-ออกให้ เป็น one-stop service ที่ให้บริการมาตรฐานระดับสากล พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุขที่เป็นภาพรวมของประเทศ และเชื่อมต่อเป็น National Single Window พัฒนาความพร้อมของห้องปฏิบัติการใน 4 ภูมิภาค (วัตถุดิบประกอบอาหาร และการสอบสวนโรค พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ (SSRT/FRRT) และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ
๓. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในประชาคมอาเซียน การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ระบบสารสนเทศ ห้องปฏิบัติการ พัฒนากำลังคน) การจัดระบบการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในจังหวัดชายแดน (พัฒนาความร่วมมือในการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคระหว่าง จังหวัดคู่ขนานในพื้นที่ชายแดนไทยก้บประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาศูนย์เฝ้าระวังเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่) พัฒนา/ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนควบคุมโรคชายแดน การพัฒนาขีดความสามารถของด่านควบคุมโรคในพื้นที่ชายแดน และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ
๔. พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ส่งเสริมพัฒนาให้สถานบริการสุขภาพมีความพร้อมและศักยภาพในการเข้าสู่การรองรับคุณภาพบริการสุขภาพในระดับนานาชาติ พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพแบบครบวงจร (Thailand Health Complex) พัฒนา IT ณ ศูนย์บริการข้อมูลสุขภาพ (One Stop Service Center) ทั้งระบบ on line และระบบ Offline พัฒนาศูนย์ล่ามตามนโยบาย Medical Hub ประชาสัมพันธ์และการทำ Business Matching รองรับนโยบาย Medical Hub พัฒนาระบบการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับเดินทางเข้ามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทยสำหรับกลุ่มสมาชิก GCC และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดแพร่ ปี 2559 จัดตั้งศูนย์ประสานงานเครือข่ายประชาคมอาเซียนด้านการสาธารณสุข ตัวย่อ "ศคอส."CENTER OF ASEAN HEALTH NETWORK COLLABORATION : AHNC ในระดับจังหวัด พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านภาษาสื่อสารในการรักษาพยาบาลแก่ผู้รับบริการชาวต่างชาติ จัดทำเว็ปไซป์ศูนย์ประสานงานเครือข่ายประชาคมอาเซียนด้านการสาธารณสุข ตัวย่อ "ศคอส.“ พัฒนาระบบข้อมูลบริการสุขภาพประชากรต่างชาติ (ข้อมูล 43 แฟ้ม) จัดทำระบบช่องทางการบริการที่ชัดเจน ระบบ 2 ภาษา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดแพร่ ปี 2560 การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ อาหาร(SRRT/FRRT) การมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับ เพื่อตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมายและพัฒนาระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ
มุ่งเน้นระบบข้อมูล ที่ทันสมัยและน่าเชื่อถือ