เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
LOGO. Company Logo “แนวทาง รวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์ การจัดการความรู้ ลงในเว็บไซต์ของหน่วยใน ทบ.”
Advertisements

While by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
LOGO “ Add your company slogan ” กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1.
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
Company Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
LOGO BUSINESS TAXATION 25 เมษายน เมษายน เมษายน ผศ. ดร. กฤษฎา สังขมณี
LOGO กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน ๑๐๐, ๐๐๐.
คู่มือการแนะนำใช้ ระบบ.
LOGO Open Source Software ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Your Company Slogan.
LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
หน่วยที่ 6 ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
บริษัท จำกัด Logo company
เวที Wifi(รหัส ) techno1
ที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000
ภาษาไทยเชิงวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณิธาน บรรณาธรรม.
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
ผู้เข้ารับการอบรมเตรียมรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน ที่ ศน.สานิต แจก
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
บริษัท จำกัด Logo company
วัชพืชถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
มีจำนวน 1 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Control : IC) รพ.สต.ติดดาว
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Naksongkaew.
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
ข้อสอบ O – NET : การเขียนเรียงความ ปี ๖๐, ๕๙
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การแก้ปัญหา.
Contents Contents Introduction Objectives Conceptual frame work
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
๑. แนะนำหนังสือ ๑.๑ กษัตริย์นักพัฒนา. สำนักงาน กปร. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๓.
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
บทบาทของกรมการปกครองกับ กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) โดย..วรวิทย์ ยอแสงนอ
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
มีจำนวน 8 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
รายงานผลการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม๒๕๕๗)
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
เวอร์เนียคาลิเปอร์ (VERNIER CALIPER)
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ข้อสอบ O – NET : แสดงทรรศนะ โน้มน้าว โต้แย้ง อนุมาน (ปี ๖๑)
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4 เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4

LOGO www.themegallery.com

ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) - ขันธ์ 5 - โลกธรรม 8 - จิต เจตสิก - ขันธ์ 5 - โลกธรรม 8 - จิต เจตสิก สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) นิยาม 5 - วิตก 3 - กรรม 12 มิจฉาวณิชชา 5 - อุปาทาน 4 - นิวรณ์ 5 ปฏิจสมุปบาท นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) ภาวนา 4 - วิมุตติ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) พระสัทธรรม - พละ 5 - ปาปณิกธรรม 3 อุบาสกธรรม 5 - ธิปไตย 3 - โภคอาทิยะ 5 ปัญญาธรรม 4 - อารยวัฒฑิ 5 - ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 อปริหานิยธรรม 7 - สัปปุริสธรรม 7 - วิปัสสนาญาณ 9 ทศพิธราชธรรม - มงคล 38 - พรหมวิหาร 4 สังคหวัตุ 4 - ทิศ 6 - อิทธิบาท 4 LOGO www.themegallery.com

อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ความจริงของอริยบุคคล LOGO www.themegallery.com

1.ทุกข์ ธรรมที่ควรรู้ ความจริงว่าด้วยความทุกข์ - จิต เจตสิก LOGO 1.ทุกข์ ธรรมที่ควรรู้ ความจริงว่าด้วยความทุกข์ - จิต เจตสิก LOGO www.themegallery.com

ขันธ์ 5 1. รูป - ร่างกายส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ) ขันธ์ 5 1. รูป - ร่างกายส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ) 2. เวทนา – ความรู้สึก (สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมเวทนา)  3. สัญญา - ความจำได้ 4. สังขาร – สภาพปรุงแต่งจิต (คิดดี คิดชั่ว เป็นกลาง) 5. วิญญาณ- ความรู้แจ้งอารมณ์ในสิ่งต่างๆ ของใจ มี 6 ทาง คือ ตา (จักขุ) หู (โสต) จมูก (ฆานะ) ลิ้น(ชิวหา) กาย (กายะ) ใจ (มโน) LOGO www.themegallery.com

ขันธ์ 5 รูป ขันธ์ 5 รูป ส่วนที่เป็นร่างกาย เวทนา เจตสิก สัญญา นามรูป รูป ส่วนที่เป็นร่างกาย เวทนา เจตสิก สัญญา นามรูป สังขาร จิต วิญญาณ LOGO www.themegallery.com

จิต ธรรมชาติที่รู้ อารมณ์ ความคิด จิต เจตสิก จิต ธรรมชาติที่รู้ อารมณ์ ความคิด เจตสิก ธรรมที่ประกอบด้วยจิต คุณสมบัติของจิต เช่น โลภ โกรธ หลง ขันธ์ 5 ก็คือ รูป จิต และเจตสิก นั่นเอง การเกิดขึ้นของจิต (วิญญาณขันธ์) จะเกิดขึ้นโดยไม่มีเจตสิก (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์) นั้นไม่ได้ ลำพังจิตอย่างเดียว ไม่สามารถรับรู้หรือนึกคิดอะไรได้เลย จิตและเจตสิก จะแยกจากกันไม่ได้ ต้องเกิดร่วมกันอิงอาศัยกัน จิตแต่ละดวงที่เกิดขึ้น จะต้องมีเจตสิกประกอบปรุงแต่งด้วยเสมอ LOGO www.themegallery.com

1. กามาวจรภูมิ ภูมิจิตของคนสามัญ ภูมิชั้นของจิต 1. กามาวจรภูมิ ภูมิจิตของคนสามัญ 2. รูปาวจรภูมิ ภูมิจิตของผู้ที่ฝึกสมาธิมากจนได้รูปฌาน ละจากโลกจะเกิดเป็นรูปพรหม 3. อรูปาวจร ภูมิจิตของผู้ที่ฝึกสมาธิมากจนได้ รูปฌาน ละจากโลกจะได้เกิดในอรูปพรหม 4. โลกุตรภูมิ ภูมิจิตของผู้หมดกิเลส พระอรหันต์ อรูปพรหม คือ พรหมที่ไม่ใช่รูปพรหม มีกายอันสวยงาม ประณีต ละเอียด สว่างไสวกว่ารูปพรหม อุบัติขึ้นเพราะเหตุแห่งการบำเพ็ญอรูปฌานกุศล ฌานที่บังเกิดขึ้นเรียกว่า อรูปฌาน LOGO www.themegallery.com

2.สมุทัย ธรรมที่ควรละ ต้นเหตุแห่งความทุกข์ นิยาม 5 - ปฏิจสมุปบาท 2.สมุทัย ธรรมที่ควรละ ต้นเหตุแห่งความทุกข์ นิยาม 5 - ปฏิจสมุปบาท อุปาทาน 4 - นิวรณ์ 5 LOGO www.themegallery.com

นิยาม 5 กฎเกณฑ์ของสรรพสิ่งทั้งปวง นิยาม 5  กฎธรรมชาติ 1. อุตุนิยาม ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น อุณหภูมิ ดินฟ้าอากาศ สิ่งแวดล้อม 2. พีชนิยาม พันธุกรรม ผ่านการสืบพันธุ์ 3. จิตนิยาม การทำงานของจิต เจตสิก 4. กรรมนิยาม  กฎแห่งกรรม กฎแห่งการกระทำและผลของการกระทำ 5. ธรรมนิยาม (General Laws) อันได้แก่กฎไตรลักษณ์  คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา   LOGO www.themegallery.com

ปฏิจจสมุปบาท การเกิดขึ้นพร้อมกันแห่งธรรมทั้งหลาย 1.หลักทั่วไป เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้ก็ดับ LOGO www.themegallery.com

ปฏิจจสมุปบาท การเกิดขึ้นพร้อมกันแห่งธรรมทั้งหลาย 2.หลักประยุกต์ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี LOGO www.themegallery.com

นิวรณ์ 5 สิ่งกีดกั้นจิตไม่ให้ประกอบความดี นิวรณ์ 5 สิ่งกีดกั้นจิตไม่ให้ประกอบความดี นิวรณ์มี 5 (สิ่งกีดขวางจิตไม่ให้บรรลุความดี) 1. กามฉันทะ ความพอใจ ติดใจ หลงใหลในกาม 2. พยาบาท  คิดร้าย เคืองแค้น 3. ถีนมิทธะ  หดหู่ เซื่องซึม ง่วงเหงาหาวนอน ความขี้เกียจ 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ  ความคิดซัดส่าย ฟุ้งซ่าน ไม่สงบนิ่ง 5. วิจิกิจฉา  ความไม่แน่ใจ ลังเลใจ สงสัย กังวล กล้า ๆ กลัว ๆ ไม่เต็มที่ ไม่มั่นใจ LOGO www.themegallery.com

นิวรณ์ 5 1.กามฉันท์ ความรักสวยรักงาม พยายามกำหนดว่าไม่งาม หัดมองเห็น โทษของความงาม 2.พยาบาท ความกระทบกระทั่งแห่งจิตให้หัดเจริญเมตตา แผ่ความรัก ความปรารถนาดี 3.ถีนมิทธะ ความไม่ยินดี เกียจคร้าน ปลุกใจให้เกิดความขยันขันแข็ง รู้จักการบริโภคอาหาร 4.อุทธัจจกุกกุจจะ การที่ใจไม่สงบพยายามทำใจให้สงบ หัดทำใจ เป็นสมาธิ 5.วิจิกิจฉา การพิจารณาโดยไม่แยบคาย ใช้โยนิโสมนสิการ พิจารณา ให้รอบคอบ จนรู้สาเหตุแห่งความสงสัย LOGO www.themegallery.com

อุปาทาน 4 ความยึดมั่น ถือมั่น ที่เกิดจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน 4 ความยึดมั่น ถือมั่น ที่เกิดจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน 4   คือ ลักษณะของความยึดมั่น ติดในสภาวะของบุคคล 1. กามุปาทาน        คือ ความยึดมั่นในกาม 2. ทิฏฐุปาทาน        คือ ความยึดมั่นในทิฐิ  3. สีลัพพตุปาทาน   คือ ความยึดมั่นในศีลและพรต 4. อัตตาวาทุปาทาน คือ ความยึดมั่นในตัวตน LOGO www.themegallery.com

3.นิโรธ ธรรมที่ควรบรรลุ 3.นิโรธ ธรรมที่ควรบรรลุ ดับทุกข์ นิพพาน LOGO www.themegallery.com

นิพพาน สภาวะที่ปราศจากทุกข์ โดยสิ้นเชิงดับ โลภ โกรธ หลง นิพพาน สภาวะที่ปราศจากทุกข์ โดยสิ้นเชิงดับ โลภ โกรธ หลง ผู้บรรลุนิพพาน เรียกพระอรหันต์ LOGO www.themegallery.com

4.มรรค ธรรมที่ควรเจริญ - สาราณียธรรม 6 - วิปัสสนาญาณ 9 ทศพิธราชธรรม 4.มรรค ธรรมที่ควรเจริญ ทางปฏิบัติให้ถึงการดับทุกข์ - สาราณียธรรม 6 - วิปัสสนาญาณ 9 ทศพิธราชธรรม LOGO www.themegallery.com

สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี 1. เมตตากายกรรม ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 2. เมตตาวจีกรรม การมีวาจาดีต่อกัน 3. เมตตามโนกรรม การคิดดีต่อกัน ไม่มุ่งร้าย 4. สาธารณโภคี การแบ่งสิ่งของให้กันและกัน 5. สีลสามัญญตา ความประพฤติสุจริตดีงาม 6. ทิฎฐิสามัญญตา มีความเห็นชอบร่วมกัน LOGO www.themegallery.com

สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี ๑. เมตตามโนกรรม  ๒. เมตตาวจีกรรม ๓. เมตตากายกรรม  ๔. สาธารณโภคี  ๕. สีลสามัญญตา  ๖. ทิฏฐิสามัญญตา  การคิดดี การมองในแง่ดี มีความหวังดีและปรารถนาดีต่อกัน การพูดแต่สิ่งที่ดีงาม พูดกันด้วยความรักความปรารถนาดี การทำความดีต่อกัน สนับสนุนช่วยเหลือกันทางด้านกำลังกาย การรู้จักแบ่งปันผลประโยชน์กันด้วยความยุติธรรม การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับหรือวินัยต่างๆ มีความคิดเห็นเป็นอย่างเดียวกัน คิดในสิ่งที่ตรงกัน LOGO www.themegallery.com

ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของ นักปกครอง10 ประการ ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของ นักปกครอง10 ประการ 1. การให้ (ทาน) การสละทรัพย์สิ่งของ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกของหมู่คณะ 2. การตั้งอยู่ในศีล (ศีล) มีความประพฤติดี 3. การบริจาค(ปริจจาคะ) การเสียสละความสุข 4. ความซื่อตรง (อาชวะ) เป็นผู้ทรงสัตย์ 5. ความอ่อนโยน(มัทวะ) มีกิริยาสุภาพ LOGO www.themegallery.com

ทศพิธราชธรรม คุณธรรม ของนักปกครอง10 ประการ ทศพิธราชธรรม คุณธรรม ของนักปกครอง10 ประการ 6. ความมีตบะ (ตบะ) การแผดเผากิเลสตัณหา 7. ความไม่โกรธ(อักโกธะ) มีจิตใจมั่นคง 8. ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) ไม่กดขี่ข่มเหง 9. ความอดทน(ขันติ) สามารถเผชิญความลำบาก 10. ความไม่คลาดธรรม(อวิโรธนะ) ตั้งมั่นในธรรม LOGO www.themegallery.com

ทาน หมายถึง การให้ วัตถุทาน คือการให้สิ่งของ ทาน หมายถึง การให้ วัตถุทาน คือการให้สิ่งของ ธรรมทาน คือ การให้เพื่อก่อให้เกิดความถูกต้องยุติธรรม เช่น การศึกษา หลักธรรม คำสั่งสอน วัตถุประสงค์ของทาน คือ - ให้เพื่อบูชาตน เช่น ให้แก่ผู้ใหญ่หรือฐานะสูงกว่า - ให้เพื่ออนุเคราะห์ เป็นการให้แก่ผู้เท่าเทียมกัน - ให้เพื่อสงเคราะห์ เป็นการให้แก่ผู้น้อยหรือฐานะต่ำกว่า LOGO www.themegallery.com

2. ศีล คือ ข้อปฏิบัติทางกาย และวาจาที่ชอบ 2. ศีล คือ ข้อปฏิบัติทางกาย และวาจาที่ชอบ ประเภทของศีล สามเณรมี 10 ข้อ / พระสงฆ์มี 227 ข้อ / ศีลของผู้ครองเรือนทั่วไป เช่น ศีล 5 บุคคลทั่วไป ศีล 8 อุบาสกอุบาสิกา การปฏิบัติศีล คือ การรักษาศีล ไม่ละเมินศีล 1) สัมบัตวิรัติ เป็นการงดเว้นไม่ละเมินศีลเฉพาะหน้า โดยไม่ได้สมทาน 2) สมาทานศีล เป็นการงดเว้น เพราะสมาทานศีลมาก่อน 3) สมุจเฉทวิรัติ เป็นการงดเว้นได้อย่างเด็ดขาด จัดเป็นศีลที่ เกิดขึ้นเองของพระอริยบุคคล เช่น พระโสดาบันมีศีล 5 เกิดขึ้นเอง พระอนาคามีมีศีล 8 เกิดขึ้นเอง LOGO www.themegallery.com

28. พระอริยบุคคลผู้ที่ยังต้องกลับมาเกิด ในโลกมนุษย์เอียดอีกเพียงหนึ่งชาติเท่านั้นคือข้อใด ลำดับพระอริยบุคคล ๑. พระโสดาบัน ละสังโยชน์ในข้อ ๑ - ๓ ได้ ยังต้องกลับมาเกิดอีก แต่ไม่เกิน ๗ ชาติแล้วจะบรรลุนิพพาน คือ ได้เป็นพระอรหันต์ ๒. พระสกิทาคามี ละสังโยชน์ในข้อ ๑ - ๓ ได้ และจิตคลายจากราคะ โทสะ โมหะ ได้มากขึ้น จะเกิดอีกเพียงครั้งเดียวแล้วจะบรรลุนิพพาน ๓. พระอนาคามี ละสังโยชน์ในข้อ ๑ - ๕ ได้ บรรลุชั้นนี้แล้วจะเลิกการครองเรือน หันมา ประพฤติพรหมจรรย์ ละสังขารแล้วจะไปเกิดในพรหมโลก ๔. พระอรหันต์ ละสังโยชน์ได้ทั้ง ๑๐ ข้อ เมื่อละสังขารแล้วจะไม่กลับมาเกิดอีก คือนิพพาน

3. บริจาค หมายถึง การเสียสละ 3. บริจาค หมายถึง การเสียสละ 3.1 การสละวัตถุสิ่งของ เพื่อสังคมและเพื่อส่วนร่วม 3.2 การสละกิเลส เพื่อความถูกต้องยุติธรรม เช่น การไม่เห็นแก่ตัว ไม่ตระหนี่ การขาดความจริง 3.3 การสละตน เพื่อส่งเสริมการทำความดีทางความคิด การพูดเพื่อประโยชน์ของส่วนร่วมเป็นสำคัญ LOGO www.themegallery.com

4. อาชชวะ คือความ ซื่อตรง ไม่หลอกหลวงปฏิบัติอย่างที่พูด 4. อาชชวะ คือความ ซื่อตรง ไม่หลอกหลวงปฏิบัติอย่างที่พูด 4.1 ซื่อตรงต่อบุคคล 4.2 ซื่อตรงต่อเวลา 4.3 ซื่อตรงต่อหน้า LOGO www.themegallery.com

5. มัททวะ คือ ความอ่อนโยน ตามเหตุผลไม่ดื้อดึง 5. มัททวะ คือ ความอ่อนโยน ตามเหตุผลไม่ดื้อดึง 5.1 มีสัมมาคารวะ ความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ 5.2 อ่อนโยนไปตามสมควร คือความอ่อนโยนตามเหตุผลที่ถูกที่ควร 5.3 มีความสุภาพ กิริยามารยาทที่เหมาะสม 5.4 วางตนสม่ำเสมอ คือ ไม่ดูหมิ่นผู้อื่นด้วยชาติกำเนิด ยศ ความรู้ และทรัพย์สมบัติ LOGO www.themegallery.com

6. ตบะ คือ ความเพียร ความแผดเผากิเลสโดยเฉพาะความเกียจคร้าน 6. ตบะ คือ ความเพียร ความแผดเผากิเลสโดยเฉพาะความเกียจคร้าน ตบะ จึงหมายถึง ความเพียร การตั้งใจกำจัดความเกียจคร้าน ผู้มีตบะจะปฏิบัติหน้าที่ให้ดีอย่างสม่ำเสมอ LOGO www.themegallery.com

7. อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ การไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ 7. อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ การไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ หมายถึง ไม่พยายามมุ่งร้ายผู้อื่น ถึงแม้นจะมีความโกรธอยู่ในใจ แต่จะต้องไม่แสดงออกทั้งทางกายและวาจา แม้นจะต้องทำโทษผู้กระทำผิด ก็ต้องพิจาณาตามเหตุผล ไม่ปฏิบัติด้วยอำนาจความโกรธ LOGO www.themegallery.com

8. อวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน) 8. อวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน) คือ การไม่เบียดเบียนการไม่ก่อความทุกข์ยากแก่ผู้อื่นรวมทั้งสรรพสัตว์ทุกชนิดด้วยการไม่เบียดเบียน ในทศพิธราชธรรมมี - ไม่เกณฑ์แรงงานราษฎรโดยปราศจากค่าจ้างตอบแทน - ไม่เก็บภาษีจนราษฎรเดือดร้อน - ไม่เว้นคืนที่ดิน โดยปราศจากการชดเชยที่เหมาะสม - ไม่กลั้นแกล้งจับกุมราษฎรด้วยข้อหาอันเลื่อนลอย - ไม่ดูถูก ดูหมิ่นราษฎร - ไม่ล่าสัตว์เห็นเป็นของสนุกสนาน - ไม่เล่นการพนันที่ทรมานสัตว์ LOGO www.themegallery.com

9. ขันติ (ความอดทน) คือ ความอดทนอันเป็นการระงับจิตใจไม่ให้เป็นไปตามอำนาจ ของกิเลส ไม่ท้อถ่อยต่องานหนัก และอดทนต่อความเจ็บไข้ 1. อดทนต่อโลภะ โทสะ โมหะ สามารถอดกลั้นไว้ไม่แสดงออก ทั้งทางกายและวาจา 2. อดทนต่อความทุกขเวทนา เช่น ความร้อน ความหนาว ความเจ็บไข้ ก็ไม่แสดงอาการเหล่านั้น 3. อดทนต่อถ้อยคำที่มีผู้กล่าวร้อย นินทา ก็อดทนโดยไม่แสดงออก LOGO www.themegallery.com

10. อวิโรธนะ (ความเที่ยงธรรม) คือ ความไม่ผิด หรือหมายถึง การไม่ประพฤติในสิ่งที่ผิด ไปจากความถูกต้องเหมาะสม (ทำนองคลองธรรม) ความไม่ผิดมีลักษณะดังนี้คือ 1. รู้ว่าผิดก็ไม่ดื้อทำต่อไป 2. ไม่ผิดจากความยุติธรรม ด้วยอำนาจอคติ 3. ไม่ทำผิดจากปกติ คือ เมื่อประสบกับความเจริญ หรือความเสื่อม ก็ไม่ยินดียินร้าย LOGO www.themegallery.com

วิปัสสณาญาณ 9 ความรู้ที่ทำให้เกิดการเห็นแจ้ง วิปัสสณาญาณ 9 ความรู้ที่ทำให้เกิดการเห็นแจ้ง 1) อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ รู้และเห็นว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะต้องดับ 2) ภังคานุปัสสนาญาณ เห็นว่าสังขารทั้งหลายจะต้องแตกสลาย 3) ภยตูปัฎฐานญาณ เห็นสังขารว่าเป็นของน่ากลัว 4) อาทีนวานุปัสสนาญาณ สังขารทั้งปวงเป็นโทษ 5) นิพพิทานุปัสสณาญาณ เห็นสังขารว่าเป็นโทษก็เกิดความหน่าย 6) มุญจิตุกัมยตาญาณ ปรารถนาจะพ้นจากสังขาร 7) ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หาทางปลดเปลื้องจากสังขารเหล่านั้น 8) สังขารุเปกขาญาณ ไม่ยินดียินร้ายในสังขาร 9) สัจจานุโลมิกญาณ เกิดญาณอันคล้อยต่อการรู้อริยสัจ LOGO www.themegallery.com