การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Rescue a child with choking
Advertisements

Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
Adult Basic Life Support
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แผนรับสาธารณภัยด้านการแพทย์ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
Pre hospital and emergency room management of head injury
แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
Triage 5 ระดับในระบบส่งต่อ
Oxygen Therapy Patchanee Pasitchakrit Department of Anesthesiology
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่องงานแล้ว บอกรายละเอียดและ สาระสำคัญ.
Neonatal Resuscitation Guidelines
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
ภาษาอังกฤษ อ่าน-เขียน 2
Shock ผศ.พญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
Advance Cardiac Life Support
American Heart Association Guidelines for CPR 2015
โครงการจัดระบบ ดูแลรักษา เครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
Nursing care for: Pulmonary Embolism In Critically Ill Patients
Assoc. Prof. Somchai Amornyotin
การดำเนินงาน RTI.
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Personal Protective Equipment (PPE)
การจำแนกระดับความฉุกเฉิน ในระบบส่งต่อ
รายงานความคืบหน้า “โครงการจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์”
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การปฐมพยาบาลผู้ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะหมดสติและการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ ( CPR )
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
Orthopaedic Emergency นงลักษณ์ อนันต์ประดิษฐ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support: BLS)
Oxygen Therapy Patchanee Pasitchakrit Department of Anesthesiology
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
อุบัติเหตุและทักษะการปฐมพยาบาล
การใช้เครื่องมือในงานช่างยนต์
NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล
แนะนำหนังสือใหม่ พฤศจิกายน 2560
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
CPR Guideline 2010 นพ. กฤษฎา เจริญรุ่งเรืองชัย โรงพยาบาลบางคล้า.
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การรายงานผลการดำเนินงาน
ตัวอย่าง incidence/risk ที่มาใส่ใน Risk profile
กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางปะหัน.
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support

Chain of survival 2015

Cardiopulmonary Arrest ภาวะหัวใจหยุดทำงาน (Cardio-Pulmonary Arrest) คืออะไร? เป็นภาวะที่ระบบการหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงาน ทำให้ไม่สามารถส่งเลือดไปเสี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ ส่งผลให้เสียชีวิตอย่างฉับพลัน

สาเหตุที่ทำให้หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ Cause of Cardiopulmonary Arrest สาเหตุที่ทำให้หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ไฟฟ้าช็อต จมน้ำ สารพิษ ยา เกินขนาด Hypovolemic shock : เสีย เลือด Anaphylactic shock : แพ้ยา/ แมลง การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ : ศีรษะ สมอง คอ ไขสันหลัง กระดูกหัก โรคประจำตัว : หัวใจ ปอด emboli

Cause of Cardiopulmonary Arrest

Cause of Cardiopulmonary Arrest

Cardio-Pulmonary Resuscitation (Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR) การช่วยฟื้นคืนชีพ (Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR) หมายถึง การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนที่หยุดทำงานอย่างกระทันหัน ให้กลับมาหายใจและหัวใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะดำรงชีวิตใกล้เคียงปกติมากที่สุด โดยไม่เกิดความพิการของสมอง

วัตถุประสงค์ของการทำ CPR Cardiopulmonary Resuscitation วัตถุประสงค์ของการทำ CPR เพิ่มออกซิเจนให้กับเนื้อเยื่อ ป้องกันภาวะสมองขาดเลือด และ ขาดออกซิเจน คงไว้ซึ่งการไหลเวียนโลหิต ผู้ป่วยกลับสู่ภาวะปกติ

Cardiopulmonary Resuscitation ความสำคัญของ CPR ภาวะหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน (Sudden cardiac arrest -SCA) เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของ USA และ Canada ผู้ป่วย SCA ส่วนใหญ่มีสาเหตุจาก ventricular fibrillation (VF) การช่วยชีวิตจะได้ผลดีที่สุดถ้าทำการช็อกไฟฟ้า (defibrillation) ภายในเวลา 5 นาทีแรก หลังจากผู้ป่วยหมดสติ

ความสำคัญของ CPR Cardiopulmonary Resuscitation ถ้าปล่อยให้หัวใจหยุดเต้น จะทำให้สมองขาดออกซิเจน และถูกทำลายอย่างถาวรได้ ภายใน 4 นาที* ความสำคัญของ CPR การทำให้อัตรารอดชีวิตสูง -> ต้องอาศัย การสอนให้ประชาชนทั่วไปสามารถทำ CPR เป็น การมีระบบเครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ ที่คนทั่วไปเข้าถึงได้ (Public Access Defibrillator - PAD หรือ Automatic External Defibrillator - AED) AED หมายถึง เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า ชนิดอัตโนมัติ

Cardiopulmonary Resuscitation ความสำคัญของการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Chances of success Reduced 7% to 10% Each minute ตั้งแต่หัวใจหยุดเต้น ทุก ๆ นาทีที่ผ่านไป อัตราการรอดชีวิตจะลดลงร้อยละ 7-10 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานจะช่วยพยุงให้มีระบบไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนที่สำคัญในร่างกาย เพื่อรอความช่วยเหลือขั้นต่อไป ถ้าการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อาจช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นคืนชีพได้

Basic life support (BLS) For Emergency healthcare Providers

Basic life support (BLS) For Emergency healthcare Providers 1. Scene safety 2. ปลุกเรียกผู้ป่วย + ขอความช่วยเหลือ + เข้าถึง AED Check pulse ABCDE CAB 3. ประเมินการหายใจ พร้อม กับคลำชีพจร ภายใน 10 วินาที ผู้ป่วย Arrest จริงหรือไม่ ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ/หายใจเฮือก คลำชีพจรไม่ได้ ต้องครบ 3 ข้อ**

Basic life support (BLS) For Emergency healthcare Providers C-A-B ผู้ป่วย Arrest จริง ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ/หายใจเฮือก คลำชีพจรไม่ได้ ครบ 3 ข้อ** Chest compression C Airway A Breathing and ventilation B

ตำแหน่ง:แนวกึ่งกลางหน้าอกในแนวราวนม Chest compression C ตำแหน่ง:แนวกึ่งกลางหน้าอกในแนวราวนม 1. จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายโดยผู้ช่วยเหลือนั่งคุกเข่าอยู่ด้านข้างของผู้ป่วย 2. วางส้นมือข้างหนึ่งตรงครึ่งล่างกระดูกหน้าอก 3. วางมืออีกข้างวางทับประสานกันไว้ แขนสองข้าง เหยียดตรง โดยให้แนวแขนตั้งฉากกับหน้าอกของผู้ป่วย 4. ซ้อนอีกมือ ล็อคนิ้ว (interlocked fingers) ยกปลายนิ้วขึ้นจากหน้าอก 5. ลำตัวตั้งตรง สะโพกเป็นจุดหมุน

Chest compression C

Chest compression C Quality of CPR (การกดช่วยชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ) Push Hard กดลึก 5 – 6 ซม. (2 – 2.4 นิ้ว) Push Fast กดเร็ว 100 – 120 ครั้ง/นาที Fully Chest Recoil ปล่อยให้หน้าอกคืนกลับอย่างเต็มที่ Avoid interruption ขัดจังหวะการกดหน้าอกน้อยที่สุด หยุดกดหน้าอกไม่เกิน 10 วินาที เลี่ยงการหายช่วยใจมากเกินไป เปลี่ยนคนกดหน้าอกทุก 5 รอบ หรือ 2 นาที 30:2 หนึ่ง สอง สาม สี่ .....สิบ สิบเอ็ด.........ยี่สิบ ยี่เอ็ด (ยี่สิบเอ็ด) ยี่สอง (ยี่สิบสอง)......... ยี่เก้า สามสิบ”

C Depth กดลึก 5 – 6 ซม. Chest compression การกดที่ลึกจะเป็นการเพิ่ม intrathoracic pressure ทำให้เพิ่ม forward blood flow ไปยัง systemic circulation ลึกเกิน 6 ซม หรือ 2.5 นิ้วอาจจะเกิด trauma ช่วงความลึก 5 – 6 ซม. เป็นช่วงที่ดีที่สุด พบว่าได้ survival ดีทีสุด • ให้กดลงไปในแนวดิ่ง • อย่ากระแทก • ผ่อนมือที่กดขึ้นให้สุด • อย่ายกมือออกจากหน้าอก • กดต่อเนื่องอย่าขาดตอน

หน้า-หน้าอก-หน้าท้อง 1 อย่าลืมดูสถานการณ์รอบๆตัวผู้ป่วยก่อนเข้าไป 2 โทรเสร็จ ดูการหายใจ หน้า-หน้าอก-หน้าท้อง

3 4 5 6

A Airway Open Airway: เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ดูว่ามี Foreign body มีเสียง Stridor Head tilt- Chin lift Jaw thrust

Triple airway maneuver Open Airway: เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ดูว่ามี Foreign body มีเสียง Stridor Triple airway maneuver

B Breathing and ventilation ช่วยการหายใจ 2 ครั้ง (1ครั้ง 1 วินาที ) Pocket mask

B Breathing and ventilation ช่วยการหายใจ 2 ครั้ง (1ครั้ง 1 วินาที ) C-E technique

AED Automatic external defibrillator ขั้นตอนการใช้เครื่อง AED ติด Paddle ตามตำแหน่งให้ถูกต้อง (กรณีตัวเปียก เช็ดตัวให้แห้ง) Paddle 1 ติดบริเวณใต้กระดูกไหปลาร้าขวา Paddle 2 ติดบริเวณใต้ชายโครงซ้าย ทำตามตามแนะนำ รอเครื่อง AED ทำการวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจ หยุด CPR ADE แนะนำให้ Shock เตรียมกดปุ่ม Shock พร้อมบอกทีม 1. ฉันถอย 2. คุณถอย 3. ทุกคนถอย (มองดูตั้งศีรษะถึงเท้าผู้ป่วย ว่าไม่มีใครสัมผัส )กดปุ่ม Shock แล้ว ทำ CPR ต่อ AED ไม่แนะนำให้ Shock ให้ทำการ CPR ต่อทันที

AED Automatic external defibrillator เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอัตโนมัติ (Automated external defibrillator; AED) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ช่วยเหลือผู้ป่วย “ภาวะหัวใจหยุดเต้น” โดยปฏิบัติร่วมกับการกดหน้าอกช่วยฟื้นคืนชีพ หลักการทำงานของเครื่อง AED คือการวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เป็นแบบ shockable rhythms (สามารถช็อกไฟฟ้าได้) ซึ่งได้แก่คลื่นไฟฟ้าหัวใจ Ventricular fibrillation (VF) pulseless-ventricular tachycardia (pVT)

Basic life support (BLS) For Emergency healthcare Providers Recovery Position