งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำถามกำหนดกรอบการเรียนรู้ (Curriculum Framing Question)
Advertisements

Mind Mapping แผนที่ความคิดในการตอบคำถาม
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ Measurement Analysis and Knowledge Management State Enterprise Performance Appraisal.
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การจัดการองค์ความรู้
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
การพัฒนาตลาดสด น่าซื้อ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
หลักการวิเคราะห์ข่าวหรือสถานการณ์ปัจจุบันด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การทำงานเชิงวิเคราะห์
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
Independent Study (IS)/Thesis
การประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา “
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
การประเมินผลการเรียนรู้
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
Factors influencing selection of marine merchant in coastal transport
Contents Contents Introduction Objectives Conceptual frame work
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
สำนักงาน กศน.จังหวัดยะลา
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
Animal Health Science ( )
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
13 October 2007
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การผลิตผลงานวิดิทัศน์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด นางสาวเบญจมาศ สุรมิตรไมตรี ผู้อำนวยการกองสุขศึกษา

วัตถุประสงค์ รู้จัก เข้าใจ นำไปใช้

ประเด็นนำเสนอ รู้จัก เข้าใจ แนวคิดการเฝ้าระวังสื่อ - แนวคิดพื้นฐานเรื่องการเฝ้าระวังสื่อ งานคุ้มครองกับการเฝ้าระวังสื่อ เรียนรู้สู่การปฏิบัติ

ทำไมต้องเฝ้าระวังสื่อ? ทำไมเราต้องทำ เกี่ยวกับเราอย่างไร ทำไมต้องเฝ้าระวังสื่อ?

เฝ้าระวังคืออะไร การเฝ้าระวัง หมายถึง ระบบและกลไกที่สร้างขึ้น เพื่อติดตามสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง เพื่อใช้ ในการวางแผน ควบคุม ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น หรือนำไปใช้เพื่อการดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยง อย่างมีประสิทธิภาพ

ความจำเป็นในการเฝ้าระวังสื่อ

ความจำเป็นเชิงกฎหมาย พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พรบ.สถานพยาบาล ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการโฆษณาสถานพยาบาล

ความจำเป็นเชิงสังคม สื่อมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การดำเนินชีวิต คนใช้ชีวิตอยู่กับสื่อมากขึ้น สื่อมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีกลยุทธ์ ที่หลากหลาย การปฏิรูปสื่อ ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น ทั้งการติดตาม ตรวจสอบ ประสิทธิภาพของการจัดการปัญหา /มาตรการแก้ไขปัญหาส่วนกลางกับท้องถิ่นอาจมีความแตกต่างกัน เนื่องจากขาดฐานข้อมูลด้านสถานการณ์และตัวอย่างการจัดการในพื้นที่

อุบายสร้างโรค

Junk health knowledge

จับสัญญาณก่อนเกิดเหตุ งานคุ้มครองฯกับการเฝ้าระวังสื่อ จับสัญญาณก่อนเกิดเหตุ

การคุ้มครองผู้บริโภค “เชิงรุก” การเฝ้าระวัง การคุ้มครองผู้บริโภค “เชิงรุก” =

ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558 :การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ มาตรการ : สร้างระบบคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยที่ใช้สถานประกอบการ สถานบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์สุขภาพในระดับเขตสุขภาพ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ KPI : ระดับกระทรวง 1.ตัวชี้วัดบังคับ : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. ตัวชี้วัดให้เขต/จังหวัดเลือก 2.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมฯ ได้รับการเฝ้าระวังให้ดำเนินการตามกฎหมาย 2.2 ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารมีคุณภาพ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.3 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนนำร่อง 2.4 ร้อยละของชิ้นการโฆษณาด้านสุขภาพผิดกฎหมายซึ่งเฝ้าระวังจากสื่อวิทยุกระจายเสียง หรือสื่ออื่นในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการจัดการ 2.5 การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน งานคุ้มครองผู้บริโภค 2.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอื่นๆ KPI : ระดับเขตสุขภาพ

จับสัญญาณก่อนเกิดเหตุ แนวคิดพื้นฐานในการเฝ้าระวังสื่อ จับสัญญาณก่อนเกิดเหตุ

ประเด็นที่ 2 เฝ้าระวังผลกระทบ พิจารณาในสองประเด็นหลัก ประเด็นที่ 1 เฝ้าระวังปรากฏการณ์ 1. การติดตามเฝ้าระวังเนื้อหาที่ปรากฏในสื่อ 2. การติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคสื่อของคนในพื้นที่ 3. การติดตามพื้นที่ในการเข้าถึงและบริโภคสื่อ 4. การติดตามมาตรการในการจัดการ การบังคับใช้กฎหมาย ประเด็นที่ 2 เฝ้าระวังผลกระทบ 1. การติดตามเฝ้าระวังเรื่องที่ส่งผลกระทบเชิงลบ 2. การติดตามเฝ้าระวังผลกระทบเชิงบวก

เป้าหมายของการเฝ้าระวัง เพื่อติดตามสถานการณ์ทั้งที่เป็นปัญหา และสถานการณ์สื่อด้านบวก เพื่อสร้างกระแสสังคมอันนำไปสู่การสร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมผ่านการรวบรวมเครือข่ายที่มีปัญหา เพื่อเตรียมการจัดทำข้อเสนอแนะในการแก้กฎหมาย นโยบาย

เรียนรู้สู่การปฏิบัติ

การดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ดำเนินการ เฝ้าระวังฯ ด้วยตัวเอง ส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่าย มีการเฝ้าระวังฯ

ขั้นตอนการดำเนินงาน ...เครือข่ายเฝ้าระวัง ขั้นตอนที่1 สร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง ประชุมกลุ่มนักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ คัดเลือกกลุ่มตัวแทนภาคประชาชนและเครือข่ายในพื้นที่ จัดอบรม ให้ความรู้แก่กลุ่มต้นแบบเครือข่ายการเฝ้าระวัง ขั้นตอนที่ 2 การเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังการโฆษณา ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ด้านสุขภาพทางสื่อที่กำหนดในแต่ละพื้นที่ การบันทึกข้อมูลเฝ้าระวัง การสรุปผล การจัดทำรายงานการเฝ้าระวังในแต่ละพื้นที่ การสรุปข้อมูลนำเสนอ

แหล่งหรือสื่อที่พบข้อมูล ชื่อข่าว/ข้อมูล/ข้อความ เนื้อหาโดยย่อที่สำคัญ เครื่องมือบันทึก วันที่พบ รายละเอียด แหล่งหรือสื่อที่พบข้อมูล ชื่อข่าว/ข้อมูล/ข้อความ เนื้อหาโดยย่อที่สำคัญ ระดับความเสี่ยง

องค์ประกอบของระเบียบวิธี ในการเฝ้าระวังสื่อ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) เป็นการอนุมานข้อความภายในเนื้อหาด้วยการแสดงปริมาณและวิเคราะห์ความหมาย และความสัมพันธ์ของคำ หรือแนวคิดของข้อความนั้นๆ การวิเคราะห์กรอบข่าว หรือกรอบของบทนำ หรือผลงานเขียน หรือรูปแบบของข้อเขียนอื่นๆ (framing analysis) เป็นวิธีการรื้อถอนสิ่งที่สื่อสร้างกรอบว่าเป็นความจริง เพื่อให้ทราบวิธีที่สื่อสร้างความจริง และกลวิธีที่เหตุการณ์ต่างๆถูกย้ำเน้น หรือมีส่วนใดที่ถูกปิดบัง การวิเคราะห์วาทกรรม(discourse analysis) เน้นการใช้ภาษาในการสื่อโครงสร้างข้อมูล ความสัมพันธ์ทางสังคมของผู้เขียน หรือระบบสัญลักษณ์ที่นำมาใช้ เป็นการค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์ สื่อ เศรษฐกิจ การเมือง หรืออุดมการณ์ที่ซ่อนอยู่

คัดเลือกหน่วยการวิเคราะห์ กรอบการวิเคราะห์ ในการเฝ้าระวังสื่อ -ข่าว -โฆษณาตรง/แฝง -สาธิต -สนทนา/สัมภาษณ์บรรยาย/แนะนำ/ตอบคำถาม - ละคร ฯลฯ - เกม - อาหาร - ออกกำลังกาย - ผลิตภัณฑ์สุขภาพ - แอลกอฮอลล์ - ผลบวก - ผลลบ - เป็นกลาง คัดเลือกหน่วยการวิเคราะห์ สื่อหลัก สื่อท้องถิ่น สื่ออนไลน์ ประเด็นวิเคราะห์ รูปแบบการนำเสนอ ประเด็น เนื้อหา ทิศทางการนำเสนอ

เกณฑ์ประเมินผลกระทบกับประชาชน เพื่อการเฝ้าระวังสื่อ ระดับ ผลกระทบ คำอธิบาย 5 รุนแรงสูง มีการสูญเสียทรัพย์สินอย่างมหันต์ มีการเจ็บป่วยถึงชีวิต 4 ค่อนข้างรุนแรง มีการสูญเสียทรัพย์สินมาก มีการเจ็บป่วยถึงขั้นหยุดงาน 3 ปานกลาง มีการเจ็บป่วยถึงขั้นพักงาน 2 น้อย มีการสูญเสียทรัพย์สินพอสมควร มีการเจ็บป่วยรุนแรง 1 น้อยมาก มีการสูญเสียทรัพย์สินเล็กน้อย ไม่มีการเจ็บป่วย

เฝ้าระวังอะไรบ้าง

งานศึกษาวิจัยในหัวข้อ ‘สถานการณ์การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทางวิทยุท้องถิ่น ภายหลังการจัดระเบียบการออกอากาศ จังหวัดลพบุรี’ โดย ภญ.ตุลาภรณ์ รุจิระยรรยง เภสัชกรชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี หลังคสช. ได้อนุญาตให้สถานีวิทยุกระจายเสียงที่ได้รับอนุญาตทดลองประกอบกิจการสามารถดำเนินการออกอากาศได้ การตรวจสอบ ‘ความชุก’ ของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งหมด 758 ครั้ง/305 ชิ้นโฆษณา ในจำนวนดังกล่าวมีการโฆษณาที่ผิดกฎหมายมากถึง 483 ครั้ง/254 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 73.40 ของการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย รูปแบบของการโฆษณามีความหลากหลาย ส่วนใหญ่มักใช้สปอตและเพลงโฆษณามากที่สุด รองลงมาคือการโฆษณาโดยนักจัดรายการพูดและการนำเสนอสาระสุขภาพ รวมถึงการโฆษณาโดยการสัมภาษณ์ อย่างไรก็ดี การโฆษณาโดยการสัมภาษณ์นั้นถือว่ามีน้ำหนักหรือมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของประชาชนอย่างมาก เนื่องจากมีการรับรองโดยบุคคล และพบว่าการโฆษณาในแต่ละครั้งจะใช้เวลานาน 300-2,000 วินาที บางรายการมีการโฆษณาผลิตภัณฑ์เดิมๆ 2-3 ผลิตภัณฑ์สลับกันไปมา ซึ่งส่งผลให้ภาพรวมของรายการเป็นการโฆษณายาที่แสดงสรรพคุณเท็จหรือโอ้อวดเกินจริงเกือบทั้งหมด ซึ่งการโฆษณารับรองผลซ้ำๆ กันหลายครั้งอาจส่งผลให้ผู้บริโภคหลงเชื่อได้ สถานการณ์ที่ควรรู้

บุกจับ “รักเด้อ เรดิโอ” วิทยุชุมชนเถื่อน ขายของอวดอ้างสรรพคุณ แม่หมอเทวดา จ.สระแก้ว รักษามะเร็งและเอดส์ได้และสารพัดโรค.. บุกจับ “รักเด้อ เรดิโอ” วิทยุชุมชนเถื่อน ขายของอวดอ้างสรรพคุณ

ใช้คำที่ห้ามใช้ในการโฆษณา

ตัวอย่างเครื่องมือ ในการเฝ้าระวังสื่อ วันที่พบ 1 กันยายน 2558 รายละเอียด แหล่งหรือสื่อที่พบข้อมูล 1. ป้ายโฆษณาสี่แยก..... 2. วิทยุชุมชน คลื่น .......... 3. ชาวบ้านบอกข้อมูล/พูดคุยกัน 4. รถเร่ขายของตามหมู่บ้าน 5. ขายตรงตามหมู่บ้าน ชื่อข่าว/ข้อมูล/ข้อความ ว่านชักมดลูก ยาทำสาวนิรันดร์ เนื้อหาโดยย่อที่สำคัญ เป็นยารักษามดลูกพิการ ปวดมดลูก ปวดประจำเดือน ตกขาวมีกลิ่นเหม็นเน่า กินว่านนี้จะหายได้ แม้จะมีลูกหลายคน ไม่ต้องพึ่งมีดหมอผ่าตัด ยกเครื่อง ทำรีแพร์ให้เปลืองเงิน ก็ทำสาวได้ มดลูกรัดตัว สามีไม่ไปเที่ยวนอกบ้าน ระดับความเสี่ยง ข้อมูลเป็นเท็จ เกี่ยวข้องกับประชาชนทั่วไป ประเมินด้านความเสี่ยงพบว่า หากประชาชนใช้ผลิตภัณฑ์จะส่งผลให้เกิดความเจ็บป่วย สูญเสียทรัพย์สิน

ตัวอย่างการเฝ้าระวังสื่อ...โดยกองสุขศึกษา

ชื่อคอลัมน์/ชื่อโฆษณา วัตถุประสงค์หลักในการนำเสนอข้อมูล 1. ข้อมูลสื่อ 2. ประเภทของข้อมูลข่าวสาร 3. แหล่งข้อมูล ตารางวิเคราะห์สื่อ ชนิดสื่อ................................................................. ชื่อ ................................................................... ระยะเวลาเผยแพร่ ............................................. กลุ่มเป้าหมาย .................................................... ชื่อคอลัมน์/ชื่อโฆษณา วัตถุประสงค์หลักในการนำเสนอข้อมูล ให้ข้อมูลความรู้ โฆษณา 1.ส่งเสริมสุขภาพ 2. โรค (ป้องกัน-รักษา) 3. ผลิตภัณฑ์/บริการด้านสุขภาพ 4. ผสม ผลิตภัณฑ์ บริการ 1+3 2+3 1+2+3 1<3 50/50 1>3 2<3 2>3 1/2/3 1>2+3 2>1+3 3>1+2 ระดับของแหล่งข้อมูล แหล่งอ้างอิง ผู้เขียน องค์กร ในประเทศ ต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้รวบรวม คอลัมนิสต์ ระบุเพิ่ม ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรอิสระ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ

ความน่าเชื่อถือ/ความเหมาะสมของเนื้อหา 4. ความน่าเชื่อถือหรือความเหมาะสมของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือ/ความเหมาะสมของเนื้อหา มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับกลุ่มผู้รับ มีจุดมุ่งหมายในการจัดทำชัดเจน และบอกวัตถุประสงค์ของสิ่งที่ต้องการชัดเจน เนื้อหามีความเป็นปัจจุบันและเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ เนื้อหามีความชัดเจน เหมาะสมกับองค์ประกอบการนำเสนอข้อมูล (รูปภาพ โครงเรื่อง) ความน่าเชื่อถือ/ความเหมาะสมของเนื้อหา มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน มีการลำดับเหตุการณ์ ตั้งแต่ต้นจนจบ ครบถ้วน มีเหตุผลตามความ เป็นจริงน่าเชื่อถือ สำนวนหรือเนื้อหาชัดเจน ไม่มีลักษณะไปทางชวนเชื่อ มีแนวคิดที่เป็นประโยชน์ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้