บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
Advertisements

Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
คลื่นผิวน้ำ.
การดำเนินการกลุ่มที่ 1 ง การสร้างเกม คอมพิวเตอร์
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การเปลี่ยนรูปของคลื่นเมื่อ เข้าสู่น้ำตื้น Jamboree – II, The JCOMM/IODE Combined Modeling and Data Management Training Workshop Held at Oostende, Belgium,
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
Ch 12 AC Steady-State Power
การออกแบบและสร้างสรรค์ สภาพแวดล้อม ผศ. สมสกุล จีระศิลป์
System Performance.
Engineering Mechanics
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
Overview Task and Concept of Sensor Part TESA TopGun Rally 2010 Quality Inspection for Smart Factory: Bottled Water ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์ อ.นุกูล.
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
อนุพันธ์ (Derivatives)
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Protection
การประมาณโหลดอาคารชุด ตาม วสท. 2545
ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
Lecture 6 MOSFET Present by : Thawatchai Thongleam
Chapter 11 : Kinematics of Particles
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
แก๊ส(Gas) สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว (ผลึกเหลว) แก็ส
Chapter 5 Oscillator Present by: Thawatchai Thongleam
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
Piyadanai Pachanapan, Electrical System Design, EE&CPE, NU
ความรู้พื้นฐานในการคำนวณเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง
Wave Characteristics.
บทที่ 7 เทคนิคการหาปริพันธ์ (Techniques of Integration)
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
Physical Chemistry IV Molecular Simulations
Calculus C a l c u l u s.
ต่อมเอ๊ะ! กับ คำตอบสุดท้าย
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
การยกเลิกใช้งานอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือ
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
งานและพลังงาน.
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แก๊ส (Gas) ปิติ ตรีสุกล โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
บทที่ 7 พัลส์เทคนิค
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
ปิรามิด แห่งการรับรู้
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
Pulse Width Modulation (PWM)
Question & Answer จากการชี้แจงการบันทึกค่า SKF
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
SPEI R Program User Manual.
สังคมและการเมือง : Social and Politics
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ 3.1 ตำแหน่งและการกระจัด ตำแหน่ง (position) คือ การบอกให้ทราบว่า วัตถุหรือสิ่งของที่เราพิจารณาอยู่ที่ใด เทียบกับจุดอ้างอิง วัตถุอยู่ที่ตำแหน่ง x = x1 ที่เวลา t1 หมายถึง วัตถุอยู่ที่ระยะทาง x1 จากจุด O (จุดอ้างอิง) ที่เวลา t1 ถ้าวัตถุเลื่อนที่ไปอยู่ที่ x2 ที่เวลา t2 แสดงว่า วัตถุได้มีการเคลื่อนที่ไประหว่างเวลา t1 และ t2 -X +X x1 x2 O

การกระจัด (displacement) การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุจาก x = x1 ไปเป็น x = x2 หรือ x2 – x 1 การกระจัด หมายถึง การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุไปจากตำแหน่งปกติ (สมดุล) 2.2 ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็ว (velocity) คือ การกระจัดต่อเวลา ความเร็วเฉลี่ย (average velocity) คือ การกระจัดหารด้วยช่วงเวลา

อัตราเร็ว (speed) เป็นปริมาณสเกลาร์ หมายถึง ระยะทางของการเคลื่อนที่ทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงทิศทางหารด้วยเวลา อัตราเร็วเฉลี่ย (average speed) คือ ระยะทางทั้งหมดที่เคลื่อนที่หารด้วยเวลา พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุจาก x1 ไป x3 และจาก x3 กลับมา x2 ใช้เวลาทั้งหมด (t2 – t1) -X +X x1 x2 x3 O อัตราเร็วเฉลี่ย = (x3 – x1) + (x3 – x2) / (t2 – t1) ความเร็วเฉลี่ย = (x2 – x1) / (t2 – t1)

ตัวอย่าง โยนลูกบอลขึ้นในแนวดิ่ง ลูกบอลลอยขึ้นไปได้สูง 5 เมตร แล้วตกกลับมายังมือในเวลา 2 วินาที อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทั้งหมดที่เคลื่อนที่ / เวลา = (5 เมตร + 5 เมตร) / 2 วินาที = 5 เมตรต่อวินาที ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัดทั้งหมด / เวลา = 0 / 2 = 0 เมตรต่อวินาที (การกระจัดเป็นศูนย์เพราะ ลูกบอลกลับมาที่เดิม)

2.3 ความเร็วและอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous velocity) คือ ความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาสั้นมากขณะผ่านจุดจุดหนึ่งหรือที่เวลาใดเวลาหนึ่ง X x2 Q ความชันเป็นความเร็วที่ผ่าน Q ความชันเป็นความเร็วเฉลี่ย x1 P O t t1 t2 O

ความเร็วเฉลี่ย ความชันของเส้นตรงที่ลากผ่าน PQ คือ (x2 – x1) / (t2 – t1) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร็วของวัตถุที่ Q เป็นความเร็วขณะใดขณะหนึ่งที่เวลา t2 หรือ ที่จุด Q หาได้จากลิมิตของความชัน ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งกับเวลาเป็นไปตามสมการ x = 5t2 เมตร ให้ Q เป็นตำแหน่งที่ 2.00 วินาที ค่าของตำแหน่ง P ที่เวลาต่างๆ ใกล้ Q และค่าของความชันของเส้น PQ ดังตาราง ลิมิตของความชันที่ Q เป็น 20.00 เมตรต่อวินาที

ตารางแสดงค่า x ของ P และ Q ที่เวลาต่างๆ และค่าความชันของเส้น PQ t (s) P (m) Q(m) ความชันของ PQ (m/s) 1.50 11.25 20.00 17.50 1.80 16.20 19.00 1.90 18.05 19.50 1.98 19.602 19.90 1.99 19.8005 19.95 1.995 19.9001 19.98 1.999 19.9800 1.9999 19.9980 จากตาราง แสดงว่าความชันไม่เปลี่ยนเมื่อ t เข้าใกล้ 2.00 วินาทีมาก

2.4 ความเร่ง ความเร่ง (acceleration) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อเวลา ถ้าที่เวลา t2 วัตถุมีความเร็ว v2 และที่เวลาก่อนนั้นคือ t1 วัตถุมีความเร็ว v1 ความเร่งเฉลี่ย = ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง = กราฟของความเร็วกับเวลา ความชันของเส้นสัมผัสที่จุดต่างๆ คือ ความเร่งของวัตถุที่จุดนั้นๆ อัตราเร่ง เป็นปริมาณสเกลาร์ ไม่คิดทิศทางเช่นเดียวกับอัตราเร็ว

กราฟระหว่างการกระจัดกับเวลา (x-t) ความเร็วที่ตำแหน่ง x0 = ความชันของเส้นสัมผัสเส้นกราฟ ณ ตำแหน่ง (0, x0) การกระจัด (x) T1 ความชันของ T1 = v(t) = v x (t, x) x0 ความชันของ T0 = v0 T0 (0, x0) t (วินาที) O t  ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง = ความชันของเส้นสัมผัสเส้นกราฟ

กราฟระหว่างความเร็วกับเวลา (v – t) ความชันของเส้นกราฟ = (v – v0) / (t – 0) a = (v – v0) / (t – 0)  v = v0 + at ระยะทาง x หาได้จาก x = พื้นที่สี่เหลี่ยม + พื้นที่สามเหลี่ยม v at v0 v0 t O t ความเร่ง = ความชันของเส้นกราฟระหว่าง v กับ t ขณะเวลา t ใดๆ

กราฟระหว่างความเร่งกับเวลา (a – t) วัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างสม่ำเสมอ v a ความเร็วเพิ่มขึ้น a a = v / t vav = a t หาความเร็วเฉลี่ย ได้จาก พื้นที่ใต้กราฟ a - t t O t O t v a ความเร็วลดลง t O t -a t O

สมการการเคลื่อนที่กรณีความเร่งเป็นค่าคงตัว ความเร็ว วัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วแบบเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างสม่ำเสมอ กราฟความเร็วกับเวลาเป็นกราฟเส้นตรง ความชันทุกจุดบนเส้นตรงเท่ากัน v v0 ความชัน = มีค่าเท่ากับความเร่ง ( a0 ) เวลา (t) O t ................สมการ (1.1)

ความเร็ว การหาระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ พิจารณาจากกราฟ ช่วงเวลา t สั้นๆ วัตถุมีความเร็ว v ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา t คือ v t ระยะทางของการเคลื่อนที่ทั้งหมด ได้จากการรวม vt ทั้งหมด โดยเริ่มจาก t = 0 จนถึง t = t1 ระยะทางทั้งหมดสมมติว่าเป็น (x1 – x0) v1 v v0 เวลา O t1 t ................สมการ (1.2)

ความเร็ว จากกราฟ vt เป็นพื้นที่ใต้กราฟ การรวมพื้นที่ vt ทั้งหมดจะได้พื้นที่ใต้กราฟทั้งหมดเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มีค่าเท่ากับ (1/2)(v0+v1)(t1-0) v1 v v0 เวลา ระยะทางทั้งหมด O t1 t ........สมการ (1.3) แทนค่า v จากสมการ (1.1) จะได้ ........สมการ (1.4)

v – v0 = a0t ดังนั้น t = (v – v0)/a0 ........สมการ (1.5) สรุปเป็นสูตร สูตรทั้ง 4 สูตรนี้ใช้ได้ถูกต้องเฉพาะกรณีที่ a มีค่าคงตัวเท่านั้น

ตัวอย่าง ถ้าการเคลื่อนที่ของก้อนหินในแนวดิ่ง เกิดจากการโยนขึ้นด้วยความเร็วต้น 5.0 เมตรต่อวินาที ซึ่งจะมีความเร่งคงตัวในทิศลงมีค่า 10 เมตรต่อ (วินาที)2 ก้อนหินจะใช้เวลาเท่าใดจะถึงจุดสูงสุด และใช้เวลาอีกเท่าใดจึงจะกลับถึงจุดที่โยน ความเร็วเฉลี่ยของช่วงขาขึ้นเป็นเท่าใด และระยะทางถึงจุดสูงสุดเป็นเท่าใด กราฟของความเร็วสำหรับช่วงเวลาทั้งขึ้นและลงจะเป็นอย่างไร วิธีทำ กำหนดให้ x เป็น การกระจัดในทิศขึ้น v เป็น ความเร็วในทิศขึ้น a เป็น ความเร่งในทิศขึ้น (a = -10 m/s2) จากสมการ v = u + at ความเร็วที่จุดยอดจะเป็น 0 และความเร็วต้น 5.0 m/s จะได้ 0 = 5.0 + (-10 )t t = 0.50 s  ก้อนหินใช้เวลา 0.50 วินาที จะถึงจุดสูงสุด ANS1

เวลาในช่วงขาลง = เวลาในช่วงขาขึ้น เท่ากับ 0 เวลาในช่วงขาลง = เวลาในช่วงขาขึ้น เท่ากับ 0.50 วินาที เพราะการเคลื่อนที่ของก้อนหินเคลื่อนที่ด้วยความเร่งอย่างเดิมในระยะทางเท่ากันกับขาขึ้น  ก้อนหินใช้เวลาอีก 0.50 วินาทีจึงจะกลับถึงจุดที่โยน ANS2 ความเร็วเฉลี่ยของช่วงขาขึ้น (v + v0) / 2 = (0 + 5.0)/2 = 2.5 m/s ANS3 ระยะทางถึงจุดสูงสุด = ความเร็วเฉลี่ย  เวลา = 2.5  0.5 = 1.25 m ANS4

v(m/s) และกราฟของความเร็วกับเวลาจะเป็นดังรูป 5.0 อาจตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบได้จากสมการ t(s) O 0.5 1.0 -5.0 ใช้ค่าเวลาของคำตอบ 1 แทนค่าจะได้ x = 5.0  0.5 + (1/2) (-10 )  (0.50 )2 m = 1.25 m ตรงกับคำตอบที่ 4 หากใช้สูตรระยะทางนี้ หาเวลาการเคลื่อนที่ขาลง ซึ่งการกระจัดขาลงเป็น -0.125 เมตร เพราะ การกระจัดมีทิศลง ใช้ความเร็วต้นเป็นศูนย์ (จากจุดยอด) แทนค่าจะได้ -0.125 = 0 – (1/2)(-10) t2 t = +0.5 , -0.5 s ตรงกับคำตอบที่ 1 และ 2

ตัวอย่างที่ 1 วัตถุก้อนหนึ่งมีการกระจัดเป็นไปตามสมการ x = 10t2 + 5 เมตร จงคำนวณหาค่า ก. ความเร็วที่เวลา t = 2 วินาที ข. ความเร่งที่เวลา t = 3 วินาที วิธีทำ ก. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง = dx = d (10t2+5) dt dt v(t) = 20 t เมตรต่อวินาที t = 2 วินาที , v = 20 x 2 = 40 เมตรต่อวินาที ข. ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง = dv = d (20t) dt dt a(t) = 20 เมตรต่อวินาที 2 t = 3 วินาที , a = 20 เมตรต่อวินาที 2

ตัวอย่างที่ 2 อนุภาคอันหนึ่งเดิมอยู่นิ่ง แล้วทำให้เกิดความเร่ง = 3t เมตรต่อวินาที 2 วิธีทำ ก. ความเร่ง a = 3t = 3x5 = 15 m/s2 ข. ความเร็ว เมื่อ t0 = 0 , t = 5 s และ a = 3t จะได้ ค. การกระจัด เมื่อ t0 = 0 , t = 5 s และ v = 3t2 / 2 จะได้

ตัวอย่างที่ 3 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ได้ 30 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงแรก และเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 50 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงต่อมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชั่วโมงมีค่าเท่าใด วิธีทำ อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทาง เวลา = 30 กิโลเมตร + 50 กิโลเมตร 1/2 ชั่วโมง + 1/2 ชั่วโมง = 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง คำตอบ อัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ตัวอย่างที่ 4 ก้อนหินตกแบบเสรีจากที่สูงแห่งหนึ่ง จะใช้เวลานานเท่าใด ความเร็วของก้อนหินจะเป็น 4 เท่าของความเร็ว เมื่อสิ้นวินาทีที่ 1 ของการเคลื่อนที่ วิธีทำ หาความเร็วของก้อนหินเมื่อสิ้นวินาทีที่ 1 จาก v = u + at v = 0 + (-10) x 1 v = -10 เมตร/วินาที หาเวลาที่ก้อนหินมีความเร็ว 40 m/s จาก v = u + at -40 เมตร/วินาที = 0 + (-10) x t t = 4 วินาที คำตอบ ก้อนหินตกลงมาใช้เวลา 4 วินาที

ตัวอย่างที่ 5 วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร็วต้น 10 เมตร/วินาที โดยมีความเร่ง 5 เมตร/วินาที 2 ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 480 เมตร วัตถุเคลื่อนที่มาแล้วกี่วินาที วิธีทำ จากสูตร s = ut + ½ at 2 480 เมตร = 10 เมตร/วินาที . t + ½ x 5 เมตร/วินาที 2 . t2 960 = 20t + 5t2 (t - 12)(t + 16) = 0 t = 12 และ -16 วินาที แต่เวลาเป็นลบไม่มีความหมาย ดังนั้นวัตถุเคลื่อนที่มาแล้ว 12 วินาที คำตอบ วัตถุเคลื่อนที่มาแล้ว 12 วินาที

ตัวอย่างที่ 6 รถยนต์คันหนึ่งออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาดความเร่งคงตัวและวิ่งไปได้ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่งของรถยนต์เป็นท่าใด วิธีทำ จากสูตร s = ut + ½ x at2 75 เมตร = 0 + ½ a 25 วินาที 2 a = 6 เมตร/วินาที 2 คำตอบ ขนาดความเร่งของรถยนต์เป็น 6 เมตร/วินาที 2 ตัวอย่างที่ 7 โยนก้อนหินไปตามแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 10 เมตร/วินาที ถามว่า ก. เมื่อใดก้อนหินมีความเร็วเป็นศูนย์ ข. ก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุดเท่าใด ค. เป็นเวลานานเท่าใดก้อนหินจึงจะตกลงมาถึงตำแหน่งเริ่มต้น

วิธีทำ ก. จากสูตร v = u + at 0 = 10 เมตร/วินาที + (-10) เมตร/วินาที 2 x t t = 1 วินาที คำตอบ ก้อนหินมีอัตราเร็วเป็นศูนย์หลังจากโยนขึ้นไปนาน 1.0 วินาที ข. จากสูตร s = (u+v)t / 2 = (10 เมตร/วินาที + 0 ) × 1.0 วินาที 2 = 5.0 เมตร คำตอบ ก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุดเป็นระยะ 5.0 เมตร

ค. เมื่อก้อนหินตกถึงพื้น s = 0 s = ut +1/2at2 s = 10t + ½ (-10) เมตร/วินาที 2 x t 0 = 10t – 5t2 0 = 5t(2 – t) t = 2.0 s คำตอบ จะต้องใช้เวลา 2.0 วินาที ก้อนหินจึงตกถึงพื้น ตัวอย่างที่ 8 อิเล็กตรอนตัวหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1.0 x 10 4 เมตร/วินาที เข้าสู่บริเวณสนามไฟฟ้าและถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าเป็นระยะทาง 1.0 เซนติเมตร เมื่อออกจากสนามไฟฟ้า อิเล็กตรอนนั้นมีความเร็ว 4.0 x 106 เมตร/วินาที จงคำนวณหาความเร่ง

วิธีทำ จากสูตร v2 = u2 + 2 as (4.0 x 104 เมตร/วินาที) 2 = (1.0 x 104 เมตรต่อวินาที) 2 + 2a x 1.0 x 10-2 เมตร 16.0 x 1012 = 0.0001 x 1012 + 2a x 1.0 x 10-2 a = 8.0 x 1014 เมตร/วินาที 2 คำตอบ ความเร่งของอิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับ 8.0 x 1014 เมตรต่อวินาที 2 ตัวอย่างที่ 9 โยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่งจากพื้นดิน ด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที หลังจากโยนไปแล้วเป็นเวลาเท่าไร ก้อนหินจึงตกลงมาด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที วิธีทำ กำหนดให้ความเร็วในทิศขึ้นเป็น + จาก v = u + at ความเร็วขณะตก = 10 เมตร/วินาที -10 เมตร/วินาที = 20 เมตร/วินาที + (-10) x t t = 3 วินาที