การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
Advertisements

1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
แผนบูรณาการเชิง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 24 ก. พ
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
Health Promotion & Environmental Health
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
เขตสุขภาพ ที่11.
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การบริหารและขับเคลื่อน
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561 การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561 ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน (0-12ปี) เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน (0-12ปี)

อ.ที่ผลงานต่ำ = เมือง แม่แจ่ม แม่แตง สะเมิง ดอยเต่า กัลยาฯ ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) (คน) เขต 1 ปีงบประมาณ 2560 2 เขต1= 73.14 อ.ที่ผลงานต่ำ = เมือง แม่แจ่ม แม่แตง สะเมิง ดอยเต่า กัลยาฯ ข้อมูลจาก HDC ณ 30 กันยายน 60

อ.ที่ผลงานต่ำ = เมือง จอมทอง แม่อาย สันทราย ฮอด อมก๋อย ร้อยละการตรวจสุขภาพช่องปาก ในเด็กอายุ 12 ปีโดย ทันตบุคลากร(คน) (dental) เขต 1 ปีงบประมาณ 2560 3 เขต1= 48.6 อ.ที่ผลงานต่ำ = เมือง จอมทอง แม่อาย สันทราย ฮอด อมก๋อย ข้อมูลจาก HDC ณ 30 กันยายน 60

ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) (คน) เขต 1 ปีงบประมาณ 2560 เขต1= 76.23 อ.ที่ผลงานต่ำ = แม่อาย ข้อมูลจาก HDC ณ 30 กันยายน 60

อ.ที่ผลงานต่ำ = จอมทอง เมือง สันทราย อมก๋อย ฮอด แม่ริม ร้อยละเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) เขต1 ปีงบประมาณ 2560 6 เขต1= 63.92 อ.ที่ผลงานต่ำ = จอมทอง เมือง สันทราย อมก๋อย ฮอด แม่ริม ข้อมูลจาก HDC ณ 30 กันยายน 60

ร้อยละ 60

เกณฑ์การประเมิน ปี 2561 : ร้อยละเด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม (รอบ 3,6,9 และ 12 เดือน) ร้อยละเด็ก 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) (รอบ 12 เดือน) รอบ 3 เดือน (บริการทันตกรรม) รอบ 6เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 15 30 45 60   (Cavity free เด็ก12 ปี)

- ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย Action Plan ระยะ 1 ปี (พ.ศ.2561) ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข PP&P Excellence แผนงาน 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น เป้าหมาย(Goal) เด็กวัยเรียน IQ/EQ ดี สุขภาพแข็งแรง สูงดีสมส่วน ตัวชี้วัด (KPI) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) ข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบัน/ baseline เด็กอายุ 3 ปี ฟันดีไม่มีผุ(cavity free) ร้อยละ 77.9 เด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจร้อยละ 53.7 ฟันดีไม่มีผุ(cavity free) ร้อยละ 73.6 เด็ก 0-12 ปีเข้าถึงบริการทันตกรรม ร้อยละ 62.3 (ข้อมูลจาก HDC) PIRAB+HL P: Partnership I: Investment R: Regulation & Law A: Advocate B: Building Capacity - ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย - บูรณาการงานร่วมกัน - ขยาย/ต่อยอดภาคีเครือข่าย - พัฒนา/ต่อยอดพื้นที่ต้นแบบ - สร้างนโยบายสาธารณะ/นโยบายร่วม - จัดบริการเชิงรุก เพิ่มความครอบคลุมการจัดบริการ - กำกับติดตาม ประเมินผล - รณรงค์สร้างกระแสลดหวาน มัน เค็ม - KM - พัฒนาทักษะการแปรงฟัน 222 - พัฒนาศักยภาพแกนนำ/เครือข่าย

Small Success กลไก รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน จังหวัด/ผลงาน - ประสานความร่วมมือเครือข่าย/คืนข้อมูล - พัฒนาศักยภาพ CUP Manager - เพิ่มความครอบคลุมการจัดบริการในเขตเมือง - ปรับปรุงระบบข้อมูลแยกตามประเภทสิทธิ - จัดบริการ - ติดตาม ประเมินผลเครือข่าย - พัฒนาสื่อ/คู่มือ - จัดบริการเพิ่มความครอบคลุมส่วนขาด - นิเทศ ติดตาม   - KM - ประเมินผลการดำเนินงานปี 2561  

วัยรุ่น

โครงการวัยรุ่น โครงการฟันสะอาดเหงือกแข็งแรง Self care ส่งเสริมประสิทธิภาพ การแปรงฟันในนักเรียนมัธยมปีที่ 1

OHSP ร้อยละผู้มีอายุ 15-59 ปี ของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับบริการทันตกรรม (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) ปีงบประมาณ 2560 ร้อยละ 9.58

โครงการวัยรุ่นและวัยทำงาน โครงการส่งเสริมพฤติกรรมการไปรับบริการ ทันตกรรม ส่งเสริมพฤติกรรมการไปรับบริการทันตกรรมในช่วงอายุ 15-59ปี

โครงการวัยทำงาน โครงการพัฒนาเครื่องมือในการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากในกลุ่มวัยทำงานในสถานที่ประกอบการ โครงการพัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากวัยทำงานเพื่อเข้าสู่ ผู้สูงวัยที่มีคุณภาพ พัฒนา Health literacy วัยทำงาน ในสถานประกอบการ พัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปากวัยทำงานในจังหวัดนำร่อง

ที่มา : บรรยายแนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุขแบบบูรณาการในกลุ่มผู้สูงอายุ โดย ทพญ. วรางคนา เวชวิธี สำนักทันตสาธารณสุข

สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัด การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัดย่อยที่ 1 ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม.ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ ตัวชี้วัดย่อยที่ 2 อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่

ตัวชี้วัดย่อยที่ 1 ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ. สต. /ศสม ตัวชี้วัดย่อยที่ 1 ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม. ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ (6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม) - ตรวจ≥ 50% - ทาฟลูออไรด์วานิชในเด็กกลุ่มเสี่ยง≥1ครั้ง/ปี - รักษา - ตรวจ≥ 50% - ฝึกพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็กแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ - ทาฟลูออไรด์ - ตรวจ - เคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ที่1ในเด็กอายุ 6 ปี - ให้บริการทันตกรรมเด็ก6-12 ปี ≥ 50% - ตรวจ - ฝึกแปรงฟันและ plaque control - รักษา องค์ประ กอบที่ 1 - การตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ - ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) ตัวชี้วัดย่อยที่ 1 ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม. ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 จัดบริการสุขภาพช่องปากที่ครอบคลุมประชากรได้ตามเกณฑ์ร้อยละ 20 ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560 ร้อยละ รพ.สต./ศสม. ผ่านเกณฑ์ จัดบริการสุขภาพช่องปาก 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรมและจัดบริการสุขภาพช่องปาก 200 คนต่อ 1000 ประชากร ร้อยละ - 39.08 62.50 เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม. ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60

ตัวชี้วัดย่อยที่ 2 อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่ คำนิยาม อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปาก หมายถึง อัตราการใช้บริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกัน บริการรักษาทันตกรรมพื้นฐาน บริการทันตกรรมเฉพาะทาง และบริการฟื้นฟูสุขภาพช่องปาก ทั้งในหน่วยงานบริการและบริการเชิงรุกในชุมชนของประชาชนของประชาชนในพื้นที่ เกณฑ์เป้าหมาย ประชากร ในพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ใช้บริการสุขภาพช่องปาก

อ.ที่ผลงานต่ำ = จอมทอง เมือง สันทราย สารภี แม่ริม อัตราการใช้บริการทันตกรรมรวมทุกสิทธิ เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) เขต 1 ปีงบประมาณ 2560 8 เขต1= 25.5 อ.ที่ผลงานต่ำ = จอมทอง เมือง สันทราย สารภี แม่ริม ข้อมูลจาก HDC ณ 30 กันยายน 60