วิชา COMP342 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
Software Development and Management
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
การบันทึกแบบสอบถามผู้ผ่านการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน พ. ศ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
V ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 2 ความเข้าใจพื้นฐานของการพัฒนาระบบ .
SMS News Distribute Service
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา COMP342 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) อาจารย์ผู้สอน อ. รติวัฒน์ ปารีศรี วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วท.บ. (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) ม.รามคำแหง Web site : http://research.psru.ac.th/~learning/

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ความหมายของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineer Meaning ) วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (SE) หมายถึง วิธีการที่นำไปสู่การบริหารจัดการสำหรับ การสร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ขึ้นมาใช้งาน ซึ่งจากความหมายแล้วนั้นจะเห็นว่า วิธีการหรือกระบวนการเหล่านั้นมีอยู่กว้าง มากมาย แต่ตามหลักของ SE นั้นต้อง เป็นกระบวนการที่ดีที่สุด ทันสมัย มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และที่สำคัญมีการ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสร้างซอฟต์แวร์นั่นเอง ซึ่งในปัจจุบันมีวิธีการและเทคนิค ต่าง ๆ มากมายที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างซอฟต์แวร์

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ความหมายของระบบ (System Meaning ) ระบบ (System) หมายถึง กลุ่มงาน (Set) ที่มีองค์ประกอบ (Component) หลาย ๆ ส่วน โดยแต่ละองค์ประกอบจะทำงานร่วมกันเพื่อ จุดประสงค์ (Purpose) เดียวกัน เช่น ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ จะ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนด้วยกันคือ อุปกรณ์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) และผูใช้งาน (People ware) ทั้ง 3 ส่วนนี้จะทำงาน ร่วมกันโดยมีจุดประสงค์ในการประมวลผล เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ตรงตามความ ต้องการ

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ความเกี่ยวข้องระหว่างวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (SE) กับระบบ (S) เราจะมองว่าในสร้างซอฟต์แวร์นั้นตั้งแต่กระบวนการแรกจนจบจะเป็นเรื่องของ SE ซึ่งต้องอาศัยวิธีการต่าง ๆ นา ๆ ซึ่งในส่วนของการสร้างซอฟต์แวร์นั้นจะมี รายละเอียดการทำงานมากมาย เพราะซอฟต์แวร์ 1 ซอฟต์แวร์จะมีหน้าที่การ ทำงานมากมายหลายอย่าง เราเลยมองหน้าที่การทำงานเหล่านั้นเป็นระบบ (System) นั่นเอง ดังนั้นเมื่อเราศึกษาเรื่อง SE ก็จำเป็นอย่างยิ่งที่เราต้องศึกษา เรื่องระบบ เช่นกัน เพราะการสร้างซอฟต์ขึ้นมาใช้งานจริงนั้นเราต้องเข้าใจการ ทำงานของซอฟต์แวร์นั้นเป็นอย่างดี นั่นก็คือต้องเข้าใจระบบการทำงานของมันด้วย

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เมื่อซอฟต์แวร์ที่เราใช้งานในปัจจุบัน ไม่สามารถทำงานให้เราตามวัตถุประสงค์ หรือ ทำงานได้แต่ไม่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้อาจเกิดจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป เราจึง จำเป็นต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไขซอฟต์แวร์เหล่านั้น เพื่อให้สามารถใช้ งานได้ดีเหมือนเดิม ดังนั้นเราก็ต้องศึกษาระบบการทำงานของซอฟต์แวร์นั้น ๆ ว่า มีการทำงานอย่างไร จึงจำเป็นที่ต้องมีการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) นั่นเอง ดังนั้นต่อไปจะเป็นการพูดถึงในเรื่องของระบบ (System)

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ใครคือผู้วิเคราะห์ และออกแบบระบบ ? การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) การวิเคราะห์ระบบงาน เป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานปัจจุบัน (Current System) เพื่อออกแบบระบบการทำงานใหม่ (New System) นอกจากจะสร้างระบบงานใหม่แล้ว เป้าหมายในการวิเคราะห์ระบบต้องการ ปรับปรุงและแก้ไขระบบเดิมให้มีทิศทางดีขึ้น โดยก่อนที่ระบบใหม่ยังไม่นำมาใช้งาน เราจะเรียกระบบงานที่กำลังใช้งานอยู่ว่า ระบบปัจจุบัน แต่หากนำเอาระบบใหม่มา ใช้งานเมื่อใด เราจะเรียกระบบปัจจุบันที่เคยใช้งานนั้นว่า ระบบเก่า (Old System) นั่นเอง

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst: SA) SA หมายถึงคนที่ทำหน้าที่ศึกษาระบบงานเดิมเพื่อพัฒนาเป็นระบบงานใหม่ โดยเป็นผู้ประสานการติดต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งจะต้องอาศัยกระบวนการต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ระบบ

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ข้อแตกต่างระหว่างนักเขียนโปรแกรม กับ นักวิเคราะห์ระบบ โปรแกรมเมอร์ ( programmer ) หมายถึงบุคคลที่รับผิดชอบในด้านการเขียน โปรแกรม สิ่งที่เขาจะเชื่อมโยงนั้น ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติ ( Operating System :OS ) หรือแม้กระทั่งภาษาที่ใช้ในการเขียน เช่น COBOL, BASIC และ C++ งานของโปรแกรมเมอร์จะเป็นไปในลักษณะที่มีขอบเขตที่แน่นอนคือ โปรแกรมที่เขาเขียนขึ้นนั้นถูกต้องตามจุดประสงค์หรือไม่ กิจกรรมงานของโปรแกรม จะเกี่ยวข้องกับคนจำนวนน้อย เช่น กับโปรแกรมเมอร์ด้วยกันเอง หรือกับนักวิเคราะห์ ระบบที่เป็นผู้วางแนวทางของระบบให้แก่เขา

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ข้อแตกต่างระหว่างนักเขียนโปรแกรม กับ นักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่า SA (SYSTEM ANALYSIS) นั้น นอกจาก จะต้องรับผิดชอบต่อการโปรแกรมคอมพิวเตอร์แล้ว ยังจะต้องรับผิดชอบงานในส่วนที่ เกี่ยวกับการจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ผู้ที่จะใช้ระบบแฟ้มหรือ ฐานข้อมูลต่างๆ รวมทั้งข้อมูลดิบที่จะป้อนเข้าระบบงานของนักวิเคราะห์ระบบไม่ได้ อยู่ในลักษณะที่แน่นอนแบบโปรแกรมเมอร์ ไม่มีคำตอบที่แน่นอนจากระบบที่เขาวาง ไม่ว่าผิดหรือถูก งานของเขาเกิดจากการประนีประนอมและผสมผสานของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน คือ ผู้ใช้ วิธีการ เทคโนโลยี และอุปกรณ์

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ (Property of System Analyst) หลังจากที่เราได้วิเคราะห์ว่า นักวิเคราะห์ระบบจะทำหน้าที่เป็นแกนกลางระหว่างนัก ธุรกิจ (BUSINESS PEOPLE) หรือผู้ใช้ระบบ (USERS) กับโปรแกรมเมอร์ (PROGRAMMERS) อย่างไรก็ตามธุรกิจหรือหน่วยงานต่างๆ จึงมักจะมีความคิดที่ว่า นักวิเคราะห์ระบบจะต้องมีพื้นฐานการเขียนโปรแกรมเป็นอันดับแรกแนวความคิดนี้ แท้จริงแล้วเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นในคุณสมบัติอันควรมีของนักวิเคราะห์ระบบ

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ (Property of System Analyst) นักวิเคราะห์ระบบจะต้องมีความสามารถที่จะพัฒนาระบบเพื่อแก้ปัญหาให้กับผู้ใช้ หรือธุรกิจอย่างมีเทคนิคและแบบแผน โปรแกรมเมอร์ที่เก่งมิได้หมายความว่าเขาจะ เป็นนักวิเคราะห์ระบบที่ดีได้ในทางตรงกันข้าม โปรแกรมเมอร์ที่ไม่เก่งมิได้หมายความ ว่าเขาจะเป็นนักวิเคราะห์ระบบที่ดีไม่ได้ หากเราจะพิจารณาถึงคุณสมบัติพื้นฐานที่นักวิเคราะห์ระบบควรมี โดยยึดตาม แนวทางของงานที่นักวิเคราะห์ระบบต้องใช้ปฏิบัติ ก็จะเป็นดังต่อไปนี้

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ (Property of System Analyst) มีความรู้ทางด้านระบบงานธุรกิจ มีความสามารถในการวิเคราะห์ ต้นทุน ผลตอบแทน มีภาวะความเป็นผู้นำ มีความรอบรู้เทคโนโลยี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา ประสบการณ์จะสำคัญต่อ SA มีความรู้ในการเขียนโปรแกรม

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ทีมงานการพัฒนาระบบ (Team of System Development) คณะกรรมการดำเนินงาน ผู้สนับสนุนฝ่ายเทคนิค ผู้อำนวยการ/ผู้จัดการ/หัวหน้า เจ้าหน้าที่ นักวิเคราะห์ระบบ ผู้ใช้งาน นักเขียนโปรแกรม ขนาดของทีมงานขึ้นอยู่กับขนาดของงาน และองค์กร วิศวกรระบบ

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ วงจรชีวิตการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) เป็นวงจรที่แสดงถึงขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มจนกระทั่งสำเร็จ โดยในแต่ละขั้นตอนจะ ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย ขั้นตอนต่าง ๆ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ด้วยกันคือ กำหนดปัญหา (Problem Definition) ทดสอบ (Testing) วิเคราะห์ (Analysis) ติดตั้ง (Implementation) ออกแบบ (Design) บำรุงรักษา (Maintenance) พัฒนา(Development)

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การกำหนดปัญหา (Problem Definition) การกำหนดปัญหา เป็นขั้นตอนของการกำหนดขอบเขตของปัญหา สาเหตุของ ปัญหาจากการดำเนินที่เกิดขึ้น แล้วทำการสำรวจความต้องการ ต่าง ๆ จากผู้ใช้งาน (Users Requirement) แล้วทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา เหล่านั้น ซึ่งปัญหาอาจจะมีหลายข้อ เราก็ต้องสำรวจคววามเป็นไปได้ (Feasibility Study)ด้วยเสมอ ผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนนี้คือUser Requirement นั่นเอง

และรวบรวมความต้องการ Requirement Gathering หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การกำหนดปัญหา (Problem Definition) กระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) สารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information) กฎของธุรกิจ (Business Rules) สร้างแบบจำลอง และรวบรวมความต้องการ Requirement Gathering กำหนดความต้องการ Requirement Specification

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ วิเคราะห์ (Analysis) การวิเคราะห์เป็นขั้นตอนการสำรวจการดำเนินงานของระบบปัจจุบัน โดยการนำ Requirement Specification ที่ได้จากขั้นตอนก่อนหน้านี้มาวิเคราะห์ใน รายละเอียดเพื่อพัฒนาเป็นแบบจำลองทางตรรกะ (Logical Model) ซึ่งจะใช้ เทคนิคของ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) คำอธิบายการ ประมวลผลข้อมูล (Process Description) และแบบจำลองข้อมูล (Data Model) ในรูแบบของ ER-Diagram

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ วิเคราะห์ (Analysis) แบบจำลองตรรกะ Logical Model DFD System Flowchart Process Desc ERD ความต้องการ Requirement Specification วิเคราะห์ (Analysis)

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การออกแบบ (Design) การออกแบบเป็นขั้นตอนของการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ทางตรรกะ มา พัฒนาเป็นแบบจำลองทางกายภาพ (Physical Model) ให้สอดคล้องกัน เช่น การออกแบบรายงาน (Report) การรับข้อมูล (Input) การแสดงผล (Output) และในส่วนของฐานข้อมูลต้องนำ ERD ที่อยู่ในแบบจำลองตรรก มา แปลงให้เป็น พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ขั้นตอนนี้จะได้ตัวระบบที่ จะนำไปพัฒนาจริงๆ

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การออกแบบ (Design) แบบจำลองตรรกะ Logical Model DFD System Flowchart Process Desc ERD Physical Model ออกแบบ Design

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ พัฒนา (Development) การพัฒนาเป็นขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมด้วยการสร้างชุดคำสั่ง หรือเขียน โปรแกรมเพื่อสร้างระบบขึ้นมา ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว Physical Model

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ทดสอบ (Testing) การทดสอบระบบ เป็นขั้นตอนหลังจากที่เราพัฒนาเสร็จแล้ว ก่อนที่จะนำระบบไป ใช้งานจริง ผู้พัฒนาและทีมงานจะต้องทำการทดสอบการทำงานเบื้องต้น ด้วยการ สร้างสถานะการแบบจำลองเหตุการณ์ ในการการใช้งานขึ้นมา อาจจะอาศัยผู้ใช้งาน จริงมาทดสอบระบบ การทดสอบจะมี 2 ส่วน - Syntax Testing  Validation - Objective Testing  Verification

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ติดตั้ง (Implement) หลังจากที่ระบบผ่านการทดสอบแล้ว จะเป็นการนำระบบไปติดตั้งเพื่อใช้งานจริง โดยการติดตั้งระบบนั้น ต้องดำเนินการทกอย่าง ตั้งแต่การจัดหา Hardware , OS Software หรือส่วนประกอบอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานระบบ นั่น หมายความว่าในการใช้งานระบบ เราต้องเตรียมความพร้อมในเรื่องต่างๆ ให้พร้อม แล้วจึงทำการติดตั้งระบบเพื่อใช้งานจริง

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ บำรุงรักษา (Maintenance) เป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างมีความสำคัญ เพราะเป็นขั้นตอนที่ต้องคอยดูแลรักษาระบบ ให้สามารถทำงานตามที่ผู้ใช้งานต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากระบบ หรือซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นมาถึงแม้ว่าจะผ่านขั้นตอนการทดสอบมาแล้ว แต่เมื่อใช้ งานไปสักระยะอาจทำให้เจอปัญหาของโปรแกรมได้ ดังนั้นจึงต้องรีบแก้ไขเพื่อให้ ระบบพร้อมที่จะกลับมาใช้งานได้ดังเดิม

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ งานกลุ่ม อภิปรายหลังคาบ -ให้แต่ละกลุ่มคิดและอภิปรายถึง คุณสมบัติของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ว่ามีลักษณะ เป็นอย่างไร - ให้แต่ละกลุ่มแสดงความคิดเห็นว่าขั้นตอนใดของ SDLC มีความสำคัญที่สุด งานกลุ่มส่งคาบหน้า ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่มค้นคว้าในหัวข้อต่อไปนี้แล้วนำมาสรุปในห้องเรียน -Water Fall Model - Spiral Model -Incremental Model

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เศรษฐกิจของประเทศที่พัฒนาแล้วต้องพึ่งพาSoftware ซอฟต์แวร์เข้ามาควบคุมระบบต่างๆ มากขึ้น วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับ ทฤษฎี วิธี และเครื่องมือ สำหรับการ พัฒนาซอฟต์แวร์อ์อย่างมืออาชีพ ค่าใช้จ่ายกับซอฟต์แวร์คิดเป็นอัตราส่วนที่สำคัญต่อรายได้ประชาชาติในทุก ประเทศที่พัฒนาแล้ว