สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เรื่อง สารละลายกรดและเบส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สมบัติของสารและการจำแนก
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
กลุ่มเกษตรกร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เรื่อง สารละลายกรดและเบส บทเรียนสำเร็จรูป วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เรื่อง สารละลายกรดและเบส

คำนำ เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เรื่อง สารละลายกรดและเบส ประกอบด้วย เนื้อหา ภาพประกอบกิจกรรม แบบฝึกหัดและแบบทดสอบที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและจุดประสงค์ของการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้จากการฝึกทักษะและปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ตลอดทั้งยังสามารถศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและมีเจตคติที่ดีในการเรียนวิทยาศาสตร์ในระดับสูงขึ้นต่อไป ผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ ตรวจสอบในการจัดทำและเรียบเรียงเอกสารไว้ ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับนักเรียน ครูผู้สอนและบุคคลที่สนใจเป็นอย่างดี

จุดประสงค์การเรียนรู้ สารบัญ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 7 เกม 3 ... เกมเติมคำมหาสนุก 2 คำชี้แจง 8 ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส 3 เกม Where is it 9 เกม 4 ... เกม OXเจ้าปัญหา 4 ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายและเบส 10 เกม 5 ... เกมมหาเศรษฐี 5 เกม 2 …เกมแบบ 4 ตัวเลือก 11 แหล่งอ้างอิง ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรด และเบสของสารละลาย 12 ประวัติผู้จัดทำ 6

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่าพีเอช (pH) กับสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ 3. อธิบายสมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบสที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เนื้อหา 1. สมบัติสารละลายกรดและเบส 2. การตรวจสอบความเป็นกรดและเบส 3. pH ของสารละลายกรดและเบส

คำชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง สารละลายกรดและเบส เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ใช้เรียนด้วยความสามารถของนักเรียนเองขอให้อ่านคำแนะนำและทำตามคำชี้แจงแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ต้นไปจนจบ นักเรียนจะได้ความรู้อย่างครบถ้วน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.อ่านจุดประสงค์การเรียนรู้แล้วนักเรียนจะรู้ว่า เมื่อเรียนจบแล้ว นักเรียนจะมีความรู้และสามารถทาอะไรได้บ้าง 2.ทำแบบทดสอบก่อนเรียนตามความเข้าใจของนักเรียนไปก่อน แม้คำตอบจะผิดบ้างก็ไม่เป็นไร ถ้านักเรียนศึกษาเนื้อหาต่อไป นักเรียนจะตอบได้ถูกต้องในตอนท้าย 3.เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จะเสนอเนื้อหาเป็นส่วนย่อยๆ ต่อเนื่องกันนักเรียนจึงไม่ควรเปิดข้ามหน้า เพราะเนื้อหาจะไม่ต่อเนื่องกัน 4. เนื้อหาแต่ละส่วนจะมีแบบฝึกหัดให้นักเรียนทดลองทำ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ 5.ถ้าตอบคำถามในแบบฝึกหัดถูกต้อง แสดงว่านักเรียนเข้าใจดีแล้ว ให้ศึกษาเนื้อหาในหน้าต่อไป แต่ถ้าตอบคำถามไม่ถูกต้อง นักเรียนควรจะย้อนกลับไปศึกษาเนื้อหาให้เข้าใจ 6.ทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ หากนักเรียนตอบไม่ถูกต้องเป็นส่วนมาก นักเรียนควรทบทวนเนื้อหาทั้งหมดอีกครั้งเพื่อประโยชน์ต่อตัวนักเรียนเอง 7. นักเรียนควรซื่อสัตย์ต่อตนเอง

เกม Where is it ?

วิธีการเล่น 1.ตัวแทนผู้เรียนมายืนหน้าชั้นและหันหลังให้สไลด์ 2.ผู้เรียนที่เหลือในชั้นช่วยกันใบ้สถานที่ที่นำเสนอบนสไลด์

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ Where is it ? องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 00.02 00.01 00.00 00.03 00.04 00.08 00.09 00.07 00.06 00.05 00.10

สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา Where is it ? สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 00.02 00.01 00.00 00.03 00.04 00.08 00.09 00.07 00.06 00.05 00.10

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลอง) กรุงเทพมหานคร Where is it ? ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลอง) กรุงเทพมหานคร 00.02 00.01 00.00 00.03 00.04 00.08 00.09 00.07 00.06 00.05 00.10

Where is it ? น้ำมะนาว 00.02 00.01 00.00 00.03 00.04 00.08 00.09 00.07 00.06 00.05 00.10

(Baking Soda) หรือมีชื่อทางเคมีว่า Where is it ? เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) หรือมีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) 00.02 00.01 00.00 00.03 00.04 00.08 00.09 00.07 00.06 00.05 00.10

ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ สารละลายกรด คือ สารละลายที่กรดละลายในน้ำ (กรดเป็นตัวละลาย น้ำเป็นตัวทำละลาย)ซึ่งสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน(H+) เมื่อละลายน้ำ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ สมบัติของสารละลายกรด มีดังนี้ 1. มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาว น้ำส้มสายชู วิตามินซี เป็นต้น 2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง ภาพที่ 1 การเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส ที่มา : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem22/life.htm อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม

ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ 3. ทำปฏิกิริยากับโลหะ ยกเว้น ทองคำ เงิน ทองคำขาว ทำให้โลหะผุกร่อนและได้แก๊สไฮโดรเจน(H2) เช่น ปฏิกิริยาของโลหะสังกะสีกับกรดเกลือ จะได้ เกลือซิงค์คลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ Zn + HCl ZnCl2 + H2 ดังนั้น โลหะ + กรด เกลือ + แก๊สไฮโดรเจน อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม 4. ทำปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์บอเนต (XCO3 : X คือธาตุโลหะใดๆ) เช่นหินปูน โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือผงฟูได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น ปฏิกิริยาของหินปูนกับกรดเกลือ จะได้แคลเซียมคลอไรด์ น้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการ CaCO3 + 2HCl CaCl2 + H2O + CO2 ดังนั้น คาร์บอเนต + กรด เกลือ + น้ำ + คาร์บอนไออกไซด์

ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. สารละลายกรดสามารถนำไฟฟ้าได้ จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ 6. ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำเรียกปฏิกิริยานี้ ว่า ปฏิกิริยาสะเทินเช่น ปฏิกิริยาของกรดเกลือกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้โซเดียมคลอไรด์และน้ำ ดังสมการ HCl + Na NaCl + H2O ดังนั้น กรด + เบส เกลือ + น้ำ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ ประเภทของกรด กรดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. กรดอินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น พืชและจุลินทรีย์หรือจากการสังเคราะห์ เช่น HCOOH กรดฟอร์มิกหรือกรดมด เป็นกรดที่อยู่ในมด เช่น มดแดง ,CH3COOH กรดแอซีติกหรือกรดน้ำส้มได้จากการหมักแป้งหรือน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์ เช่น น้ำส้มสายชู อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม ภาพที่ 2 กรดอินทรีย์ ที่มา : http://nutoonina.tripod.com/01.htm

ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. กรดอนินทรีย์หรือกรดแร่ธาตุเป็นกรดที่เกิดจากแร่ธาตุไม่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต ดังนั้นอาจการกัดกร่อนจึงสูงกว่ากรดอินทรีย์และบางชนิดก็เป็นกรดแก่ซึ่งมีอำนาจการกัดกร่อนสูง เช่น -H2SO4 กรดซัลฟิวริกหรือกรดกามะถัน เช่น ผงซักฟอก แบตเตอรี่รถยนต์ ปุ๋ย -HCl กรดไฮโดรคลอริกหรือกรดเกลือ เช่น น้ำยาล้างห้องน้ำ -H2CO3 กรดคาร์บอนิก เช่น น้ำโซดา น้ำอัดลม จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม ภาพที่ 3 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นกรด ที่มา : http://www.codsana.com/ad-4d4d1d93e216a7b36d02c82b.html

ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส www,378700000.com ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส - ทำปฏิกิริยากับกรด ได้เกลือและน้ำ ดังสมการ HCl + KOH KCl + H2O - มีรสฝาด ขม มีสมบัติลื่นมือ เช่น สบู่ ผงซักฟอก สารละลายเบสนำไฟฟ้าได้ สารละลายเบส - ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด เช่น อะลูมิเนียม(Al) และสังกะสี(Zn) จะได้แก๊สไฮโดรเจน(H2) - เปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน - ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนีย (NH4Y : Y = ธาตุโลหะ) -ผสมกับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่และกลีเซอรอล เรียกปฏิกิริยานี้ว่า “ปฏิกิริยาการเกิดสบู่(saponificationreaction)”

เกมที่ 2 ...“เกมแบบ 4 ตัวเลือก”

ให้ผู้เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 ข้อ ! วิธีการเล่น ให้ผู้เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 ข้อ !

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมบัติของกรด 1, 2, 3 1, 2, 4 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมบัติของกรด 1. มีรสเปรี้ยว  2. ทำปฏิกิริยากับโลหะเกิดแก๊ส 3. ทำปฏิกิริยากับหินปูนเกิดแก๊สและหินปูนสึกกร่อน 4. เปลี่ยนสีสารละลายฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู ข้อที่ถูกที่สุดคือ 1, 2, 3 1, 2, 4 ข. ก. 1, 3, 4 2, 3, 4 ง. ค.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2. อินดิเคเตอร์เป็นสารที่ใช้บอกเกี่ยวกับเรื่องใด การเปลี่ยนสีของสารละลาย ความสามารถในการละลาย ก. ข. ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย ความสามารถในการนำไฟฟ้า ค. ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 3. ข้อใดบอกค่า pH ได้ถูกต้อง พีเอชมิเตอร์ กระดาษลิตมัส ก. ข. สารละลายฟีนล์ฟทาลีน ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ค. ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 4. ข้อใดอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับระดับความเป็นกรดได้ถูกต้องที่สุด กรดแกมีค่า pH มากกว่ากรดอ่อน กรดอ่อนมีค่า pH น้อย ข. ก. สารละลายกรดมีค่า pH เท่ากับ7 ค. สารละลายกรดมีค่า pH มากกว่า 7 ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 5. นำสารละลาย X มาใส่บีกเกอร์ 2 ใบ เท่าๆ กัน แล้วทดลองดังนี้ ใบที่ 1 เติมกรดลงไปจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองใบที่ 2 เติมเบสลงไปจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินสารละลาย X คือสารละลายใด น้ำบริสุทธิ์ สารละลายกรด ก. ข. สารละลายเบส สารละลายอินดิเคเตอร์ ค. ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 6. ฝนกรดที่มักเกิดในเมืองใหญ่ๆ เกิดจากการมีแก๊สใดในบรรยากาศมาก คาร์บอนไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ค. สารละลายอินดิเคเตอร์ ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 7. กรด-เบส ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่เป็นสารพวกใด สารเนื้อเดียวประเภทคอลลอยด์ ก. สารเนื้อเดียวประเภทสารละลาย ข. สารเนื้อเดียวประเภทสารบริสุทธิ์ ค. สารเนื้อผสมประเภทสารแขวนลอย ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 8. ถ้าต้องการทราบว่า กรดในขวด A หรือในขวด B เป็นกรดจากพืชหรือไม่ ต้องใช้สารใดทดสอบ น้ำปูนใส สารละลายฟีนอล์ฟทาลีน ก. ข. สารละลายเจนเชียนไวโอเลต กระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้ำเงิน ค. ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 9. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมบัติของเบส 1,2,3 1,3,5 1,4,5 1. มีรสฝาด 2. มีค่า pH ต่ำกว่า 7 3. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีน้ำเงิน 4. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเป็นสีแดง 5. ทำให้อินดิเคเตอร์ฟีนอล์ฟทาลีนเป็นสีชมพู 1,2,3 1,3,5 ข. ก. 1,4,5 ค. 1,2,3,5 ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 10. เมื่อหยดเมทิลเรดลงในสารละลาย B จะให้สีเหลือง สารละลาย B มี pH เท่าใด และมีสมบัติอย่างไร น้อยกว่า 4.2 เป็นกรด 6.3 เป็นกลางและเบส ก. ข. มากกว่า 6.3 เป็นกรด กลางหรือเบสก็ได้ 4.2 – 6.3 เป็นกรดและกลาง ค. ง.

ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย จุดประสงค์การเรียนรู้ การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลายสามารถตรวจสอบได้ด้วยอินดิเคเตอร์ซึ่งเป็นสารที่ใช้บอกสมบัติบางอย่างในปฏิกิริยาเคมีโดยการเปลี่ยนสีหรือการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางอย่างที่มองเห็นได้สารที่นำมาใช้ในการตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลายต่างๆ เรียกว่า " อินดิเคเตอร์สาหรับกรด-เบส (acid-base indicator)" ทดสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ บอกความหมายของอินดิเคเตอร์สำหรับกรดและเบสพร้อมทั้งยกตัวอย่าง อินดิเคเตอร์ (indicator) คือ สารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- )ได้ เนื่องจากสารละลายที่ เป็นกรดจะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่าสารละลาย ที่เป็นเบส เช่น HNO3 + H2O H3O+ + NO3 NH3 + H2O NH4+ + OH-

ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย www,378700000.com ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย กระดาษลิตมัส ยูนิเวอร์ซัลอินดิ-เคเตอร์ อินดิเคเตอร์ เป็นอินดิเคเตอร์ที่รู้จักกันดี กระดาษลิตมัสมี 2 สี ได้แก่ กระดาษลิตมัสสีแดงและกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน ภาพที่ 4 กระดาษลิตมัสสีแดงและกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน ที่มา : http://www.lks.ac.th /student/kroo_su/chem22/life.htm มีการเปลี่ยนสีเกือบทุกค่า pH จึงใช้ทดสอบหาค่า pH ได้ดี อินดิเคเตอร์ชนิดนี้มีทั้งแบบที่เป็นกระดาษและแบบสารละลาย ภาพที่ 5 กระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ที่มา : http://tc.mengrai.ac.th/ Kristtika/page8.htm อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดจะมีการตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย แตกต่างกัน อินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้กันมากมี 2 ประเภท คือ 1. กระดาษลิตมัส 2.ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์

ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย www,378700000.com ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย เมื่อใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบสารละลายจะสามารถจำแนกสารได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินไปเป็นสีแดง 2. สารละลายที่มีสมบัติเป็นเบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงไปเป็นสีน้ำเงิน 3. สารละลายที่มีสมบัติเป็นกลางจะไม่ทำปฏิกิริยากับกระดาษลิตมัสทั้งสีน้ำเงิน และสีแดง กระดาษลิตมัสจึงไม่เปลี่ยนสี ภาพที่ 6 การบอกความเป็นกรดและเบสโดยสีของกระดาษลิตมัส ที่มา : http://vichakarn.triamudom.ac.th/c omtech/studentproject/sci/acid/indicator.html A B ภาพที่ 7 การเปลี่ยนสีของกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ที่มา : http://tc.mengrai.ac.th/Kristtika/page8.htm

เกมที่ 3 ... เกมเติมคำมหาสนุก

ให้ผู้เรียนเติมคำในช่องว่างให้ถูกต้อง วิธีการเล่น ให้ผู้เรียนเติมคำในช่องว่างให้ถูกต้อง

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. สารละลายกรดคือ............................................................................................................ 2. กรดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ............................................................................... 3. เป็นกรดที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น พืชและจุลินทรีย์........................................................... 4. เป็นกรดที่เกิดจากแร่ธาตุไม่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต .............................................................. 5. สารละลายเบส คือ ........................................................................................................ 6. สารละลายเบสเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสเปลี่ยนสีจาก............................................ 7. สารละลายเบสทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดเช่น........................................................... 8. สารละลายกรดเมื่อทดสอบกับฟีนอล์ฟทาลีน................................................................. 9. สารละลายเบสในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง..................................................................... 10. กรดที่อยู่ในมดแดงคือ...................................................................................................... สารละลายที่กรดละลายในน้ำ ซึ่งสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) กรดอินทรีย์และกรดอนินทรีย์(กรดแร่ธาตุ) กรดอินทรีย์ กรดอนินทรีย์(กรดแร่ธาตุ) สารละลายที่เบสละลายในน้ำซึ่งสามารถแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) สีแดงเป็นสีน้ำเงิน อะลูมิเนียมและสังกะสี เป็นสีแดง ไม่ปลี่ยนสี น้ำปูนใส ,ผงซักฟอก,สบู่ กรดฟอร์มิก(CHOOH)หรือกรดมด

ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ ค่า pH (potential of Hydrogen ion concentration) หมายถึง ค่าที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้บอกความเป็นกรดเบสของสารละลาย โดยทั่วไป ค่า pH จะอยู่ในช่วง 1-14 สารละลายที่มีค่า pH ต่ำกว่า 7 จะมีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pH เท่ากับ 7 จะมีสมบัติเป็นกลาง สารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7 จะมีสมบัติเป็นเบส อธิบายการปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารละลายที่มี สมบัติตรงข้าม ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของ ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสใน ชีวิตประจำวัน ภาพที่ 8 ค่า pH ของสารละลายกรดและเบส ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/hydrosphere/water-properties

ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส www,378700000.com ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส ตาราง 1 ตัวอย่างค่า pH ของสารบางชนิด ที่มา : http://school.obec.go.th/huyhang/sasan/H_san/test8.htm อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดในสารละลายกรดและเบสจะมีค่า pH แตกต่างกัน โดยมี ช่วงการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ตามค่า pH ของสารนั้น

ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส www,378700000.com ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส T I T L E ภาพที่ 9 ภาพแสดงสีของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิด ที่มา : http://ujutchemical.exteen.com/20060911/entry-3

ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส www,378700000.com ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส อินดิเคเตอร์ต่าง ๆ ตาราง 3.3 ช่วงการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์บางชนิด

ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส www,378700000.com ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส เป็นเครื่องมือที่สามารถตรวจวัดค่า pH ของสารละลายได้เป็นเวลานานติดต่อกัน พีเอชมิเตอร์ (pH meter) ทำให้ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดและเบสของสารละลายได้ ค่า pH ที่อ่านได้จะมีความละเอียดมากกว่าการใช้อินดิเคเตอร์ มีความเที่ยงตรง และความแม่นยำสูง ภาพที่ 10 พีเอชมิเตอร์ ที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2412212100/15.htm

ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส www,378700000.com ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส ปฏิกิริยาของสารละลายกรดและเบส 1. เมื่อเติมสารละลายเบสลงในสารละลายกรด เป็นการเพิ่มค่า pH และการเติมสารละลายกรดลงในสารละลายเบส เป็นการลดค่า pH 2. การเปลี่ยนค่า pH จะเปลี่ยนค่าเร็วเมื่อสารละลายใกล้จะเป็นกลาง คือ ค่า pH ยิ่งใกล้ 7 จะยิ่งเปลี่ยนค่าได้เร็ว

เกมที่ 4 .... OX เจ้าปัญหา

วิธีการเล่น 1. แบ่งผู้เล่นเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม x และกลุ่ม o 2. ผู้เล่นกลุ่มที่มีสิทธิตอบคำถามเลือกช่องที่ต้องการ 3. เมื่อตอบคำถามถูกต้อง จึงจะสามารถลงช่อง x หรือ oตามกลุ่มของผู้ตอบ 4. เมื่อตอบคำถามผิด ช่องดังกล่าวจะเป็นของ ฝ่ายตรงข้าม

ตาราง OX 1 2 3 คลิกเมื่อ O ชนะ 4 5 6 คลิกเมื่อ X ชนะ 7 8 9

1 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง สารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- )ได้

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง อินดิเคเตอร์ (Indicator) 1 อินดิเคเตอร์ (Indicator) กลับหน้า ตาราง OX

2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง อินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้กันมากมี 2 ประเภท คือ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง กระดาษลิตมัสและยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 2 กระดาษลิตมัสและยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ กลับหน้า ตาราง OX

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง กระดาษลิตมัสมี 2 สี ได้แก่ 3 กระดาษลิตมัสมี 2 สี ได้แก่

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง กระดาษลิตมัสสีแดงและกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน 3 กระดาษลิตมัสสีแดงและกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน กลับหน้า ตาราง OX

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มีกี่แบบ 4 ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มีกี่แบบ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง แบบที่เป็นกระดาษและแบบสารละลาย 4 แบบที่เป็นกระดาษและแบบสารละลาย กลับหน้า ตาราง OX

5 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินไปเป็นสีแดง

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด 5 สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด กลับหน้า ตาราง OX

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ไม่ทำปฏิกิริยากับกระดาษลิตมัสทั้ง 6 ไม่ทำปฏิกิริยากับกระดาษลิตมัสทั้ง สีน้ำเงินและสีแดง

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง สารละลายที่มีสมบัติเป็นกลาง 6 สารละลายที่มีสมบัติเป็นกลาง กลับหน้า ตาราง OX

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง มีรสฝาด และลื่นเมื่อถูกกับมือ 7 มีรสฝาด และลื่นเมื่อถูกกับมือ

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 7 สารละลายเบส กลับหน้า ตาราง OX

8 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง กรดทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำ เรียกปฏิกิริยานี้ว่า

จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 8 ปฏิกิริยาสะเทิน กลับหน้า ตาราง OX

9 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง เบสผสมกับน้ำมันหรือไขมัน จะได้สบู่และ กลีเซอรอล เรียกปฏิกิริยานี้ว่า

9 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ปฏิกิริยาการเกิดสบู่(saponificationreaction) กลับหน้า ตาราง OX

กลุ่ม O ขอแสดงความยินดีด้วย ... คุณชนะแล้ว ! กลับหน้า ตาราง OX

กลุ่ม X ขอแสดงความยินดีด้วย ... คุณชนะแล้ว ! กลับหน้า ตาราง OX

เกมที่ 5 .... เกมมหาเศรษฐี

วิธีการเล่น 1.ผู้เล่นช่วยกันตอบคำถามตามมูลค่าที่กำหนด 2.หากตอบผิดถือว่าเกมยุติ 3.ข้อคำถามที่เหลือผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันเฉลยและอภิปรายร่วมกัน

ผู้สอนตัดตัวเลือกให้ 2 ข้อ ตัวช่วย 50:50 ผู้สอนตัดตัวเลือกให้ 2 ข้อ 2 ผู้เรียนตอบได้ 2 ครั้ง ผู้สอนใบ้เพิ่มเติม

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

คำถามข้อที่ 1 50:50 สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) ได้คือข้อใด 2 เฉลย กรด ไปข้อ 2 ก.กรด ข.เบส ค.กลาง ง.ไม่มีข้อถูก

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

คำถามข้อที่ 1 50:50 สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) ได้คือข้อใด 2 เฉลย กรด ไปข้อ 2 ก.กรด ข.เบส

คำใบ้ข้อที่ 1 - มีรสเปรี้ยว - เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง - สารละลายกรดสามารถนำไฟฟ้าได้ กลับไปหน้าคำถาม

ข้อใดไม่ใช่สมบัติของกรด เฉลย ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่ คำถามข้อที่ 2 50:50 2 ข้อใดไม่ใช่สมบัติของกรด เฉลย ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่ ไปข้อ 3 ก. มีรสเปรี้ยว ข. เปลี่ยนสีกระดาษลิสมัตจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง ค.ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่ . ง.ไม่มีข้อถูก

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

เฉลย ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่ คำถามข้อที่ 2 50:50 2 ข้อใดไม่ใช่สมบัติของกรด เฉลย ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่ ไปข้อ 3 ข. เปลี่ยนสีกระดาษลิสมัตจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง ค.ทำปฏิกิริยากับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่ .

คำใบ้ข้อที่ 2 คุณสมบัติของกรด 1. มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาว น้ำส้มสายชู 1. มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาว น้ำส้มสายชู วิตามินซี เป็นต้น 2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง 3.ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำเรียก ปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาสะเทิน กลับไปหน้าคำถาม

เฉลย สารที่มีสมบัติเป็นเบส คำถามข้อที่ 3 50:50 สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจาก สีแดงเป็นสีน้ำเงิน คือ 2 เฉลย สารที่มีสมบัติเป็นเบส ไปข้อ 4 ก. สารที่มีสมบัติเป็นกรด ข. สารที่มีสมบัติเป็นเบส ค. สารที่มีสมบัติเป็นกลาง ง.ถูกทั้งข้อ ข) และ ค)

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

คำถามข้อที่ 3 สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจาก สีแดงเป็นสีน้ำเงิน คือ 50:50 สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจาก สีแดงเป็นสีน้ำเงิน คือ 2 เฉลย สารที่มีสมบัติเป็นเบส ก. สารที่มีสมบัติเป็นกรด ข. สารที่มีสมบัติเป็นเบส

คำใบ้ข้อที่ 3 1.มีรสฝาด ขม 2.มีสมบัติลื่นมือ เช่น สบู่ ผงซักฟอก 1.มีรสฝาด ขม   2.มีสมบัติลื่นมือ เช่น สบู่ ผงซักฟอก 3.ผสมกับนามันหรือไขมัน จะได้สบู่และ กลีเซอรอล เรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ กลับไปหน้าคำถาม

ข้อใดไม่ใช่กรดอินทรีย์ เฉลย กรดซัลฟิวริก/กรดกำมะถัน คำถามข้อที่ 4 50:50 2 ข้อใดไม่ใช่กรดอินทรีย์ เฉลย กรดซัลฟิวริก/กรดกำมะถัน ไปข้อ 5 ก. กรดฟอร์มิกหรือกรดมด ข. กรดซัลฟิวริก/กรดกำมะถัน ค. กรดซิตริกหรือ กรดมะนาว ง. กรดแลกติก

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

ข้อใดไม่ใช่กรดอินทรีย์ เฉลย กรดซัลฟิวริก/กรดกำมะถัน คำถามข้อที่ 4 50:50 2 ข้อใดไม่ใช่กรดอินทรีย์ เฉลย กรดซัลฟิวริก/กรดกำมะถัน ไปข้อ 5 ข. กรดซัลฟิวริก/กรดกำมะถัน ง. กรดแลกติก

คำใบ้ข้อที่ 4 HCOOH กรดฟอร์มิกหรือกรดมด เป็นกรดที่ อยู่ในมด เช่น มดแดง อยู่ในมด เช่น มดแดง   CH3COOH กรดแอซีติกหรือกรดน้ำส้มได้จาก การหมักแป้งหรือน้ำตาลโดย ใช้จุลินทรีย์ เช่น น้ำส้มสายชู C6H8O7 กรดซิตริกหรือกรดมะนาว เป็นกรดที่ อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว กลับไปหน้าคำถาม

คำถามข้อที่ 5 50:50 ข้อใดคือสารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- )ได้ 2 เฉลย อินดิเคเตอร์ ไปข้อ 6 ก.กระดาษกรอง ข.สีผสมอาหาร ค. pH มิเตอร์ ง. อินดิเคเตอร์

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

คำถามข้อที่ 5 50:50 ข้อใดคือสารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- )ได้ 2 เฉลย อินดิเคเตอร์ ไปข้อ 6 ค. pH มิเตอร์ ง. อินดิเคเตอร์

คำใบ้ข้อที่ 5 กระดาษลิตมัสและ ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ กลับไปหน้าคำถาม

ข้อใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดเกลือได้ คำถามข้อที่ 6 50:50 2 ข้อใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดเกลือได้ เฉลย ถูกทุกข้อ ไปข้อ 7 ก. โลหะกับกรด ข.กรดกับเบส ค. แก๊สกับแก๊ส ง. ถูกทุกข้อ

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

ข้อใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดเกลือได้ คำถามข้อที่ 6 50:50 2 ข้อใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดเกลือได้ เฉลย ถูกทุกข้อ ไปข้อ 7 ก. โลหะกับกรด ง. ถูกทุกข้อ

คำใบ้ข้อที่ 6 เกลือที่เกิดจากกรดและเบสทำปฏิกิริยากัน ไอออนบวกของเกลือจะมาจากส่วนที่เป็นเบส ส่วนไอออนลบ จะมาจากส่วนของกรด เกลือที่เกิดจากปฏิกิริยา ระหว่างกรดกับเบส กลับไปหน้าคำถาม

คำถามข้อที่ 7 ช่วง pH ของของเหลวใดในร่างกายมีค่าต่ำที่สุด คำถามข้อที่ 7 50:50 2 ช่วง pH ของของเหลวใดในร่างกายมีค่าต่ำที่สุด เฉลย น้ำย่อยในกระเพาะ ไปข้อ 8 ก. เลือด ข.น้ำลาย ค. น้ำย่อยในกระเพาะ ง. ปัสสะวะ

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

คำถามข้อที่ 7 ช่วง pH ของของเหลวใดในร่างกายมีค่าต่ำที่สุด คำถามข้อที่ 7 50:50 2 ช่วง pH ของของเหลวใดในร่างกายมีค่าต่ำที่สุด เฉลย น้ำย่อยในกระเพาะ ไปข้อ 8 ก. เลือด ค. น้ำย่อยในกระเพาะ

คำใบ้ข้อที่ 7 ค่า pH ของสารละลายในสิ่งมีชีวิตมีค่าเฉพาะตัว 7.4 และ 6.8 ตามลำดับ กลับไปหน้าคำถาม

คำถามข้อที่ 8 น้ำปูนใสมีคุณสมบัติเป็นสารละลายใด เฉลย สารละลายเบส คำถามข้อที่ 8 50:50 2 น้ำปูนใสมีคุณสมบัติเป็นสารละลายใด เฉลย สารละลายเบส ไปข้อ 9 ก. สารละลายเบส ข.สารละลายกรด ค. สารละลายที่เป็นกลาง ง. ไม่มีข้อถูก

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

น้ำปูนใสมีคุณสมบัติเป็นสารละลายใด คำถามข้อที่ 8 50:50 2 น้ำปูนใสมีคุณสมบัติเป็นสารละลายใด เฉลย สารละลายเบส ไปข้อ 9 ก. สารละลายเบส ค. สารละลายที่เป็นกลาง

คำใบ้ข้อที่ 8 สภาพเป็นด่าง ค่า pH มากกว่า 7 ซึ่งจะมีค่ามาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารละลาย กลับไปหน้าคำถาม

H3O+ เรียกชื่อว่าอย่างไร คำถามข้อที่ 9 50:50 2 H3O+ เรียกชื่อว่าอย่างไร เฉลย ไฮโดรเนียมไอออน ไปข้อ 10 ก. ไฮโดรไอออน ข.ไฮโดรเนียมไอออน ค. ไฮโดรเจนไอออน ง. ไฮโดรออกซิเจน

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

H3O+ เรียกชื่อว่าอย่างไร คำถามข้อที่ 50:50 2 H3O+ เรียกชื่อว่าอย่างไร เฉลย ไฮโดรเนียมไอออน ไปข้อ 10 ก. ไฮโดรไอออน ข.ไฮโดรเนียมไอออน

คำใบ้ข้อที่ 9 H = ไฮโดรเจน O = ออกซิเจน + = ไอออน กลับไปหน้าคำถาม

คำถามข้อที่ 10 50:50 ฝนกรดที่มักเกิดในเมืองใหญ่ๆ เกิดจากการมีแก๊สใดในบรรยากาศมาก 2 เฉลยซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ ก. คาร์บอนไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ ค. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ง ง. คาร์บอนมอนอกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์

เงินรางวัล 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 5 > 1,000,000 บาท 4 > 100.000 บาท 3 > 10,000 บาท 2 > 1,000 บาท 1 > 100 บาท

คำถามข้อที่10 ทฤษฎีกรด-เบสที่นิยมใช้มีทั้งหมดกี่ทฤษฎี 50:50 2 ทฤษฎีกรด-เบสที่นิยมใช้มีทั้งหมดกี่ทฤษฎี เฉลย ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ค. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ง. คาร์บอนมอนอกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์

คำใบ้ข้อที่ 10 เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมัน ก๊าซทั้งสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยากับน้ำ (water: H2O) และสารเคมีอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศเพื่อก่อให้เกิดกรดซัลฟิวริก (sulfuric acid: H2SO4) , กรดไนตริก (nitric acid: HNO3) และสารมลพิษอื่น ๆ กลับไปหน้าคำถาม

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง สารละลายกรดและเบส www,378700000.com บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง สารละลายกรดและเบส บรรณานุกรม “ทฤษฏีกรดและเบส.”2551[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://ujutchemical.exteen.com/20060911/entry-3. สืบค้น 19 พฤศจิกายน 2555.บัญชา แสนทวี. 2546. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วัฒนาพานิช. กฤษติกา อุดปิน. 2550 “สมบัติของสารละลา ยกรด-เบส.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://tc.mengrai.ac.th/Kristtika/page8.htm. สืบค้น 19 พฤศจิกายน 2555. กอบนวล จิตตินันท์. 2553. คู่มือเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. จุฬาลักษณ์ วงศ์ขัดนนท์ และคณะ. “สารละลายกรด–เบสในชีวิตประจาวัน.”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem22/life.htm. สืบค้น 19 พฤศจิกายน 2555

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง สารละลายกรดและเบส www,378700000.com บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง สารละลายกรดและเบส บรรณานุกรม “กรดอินทรีย์.”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://nutoonina.tripod.com/01.htm สืบค้น 19 พฤศจิกายน 2555. รชยา กิ้มนวล และคณะ. “ค่า PH ของสารละลาย.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://sites.google.com/site/acidsbase/krd-bes/kha-ph-khxng-sarlalay. สืบค้น 19 พฤศจิกายน 2555 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2553. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. 2554. คู่มือเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ เล่มรวม เทอม 1 -2 ม.1.กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ด พับลิชชิ่ง.

นางสาวพิมพ์พิมล ฝั้นเฝือ นางสาวศิรินภา กลัดเล็ก ประวัติผู้จัดทำ นางสาวพิมพ์พิมล ฝั้นเฝือ นางสาวศิรินภา กลัดเล็ก

ประวัติผู้จัดทำ นางสาวพิมพ์พิมล ฝั้นเฝือ “ตุ๊กติ๊ก” www,378700000.com ประวัติผู้จัดทำ นางสาวพิมพ์พิมล ฝั้นเฝือ “ตุ๊กติ๊ก” เกิดเมื่อ วันที่ 26 เดือน กันยายน พุทธศักราช 2534 เบอร์โทรศัพท์ : 08 2880 3076 E-mail : tik26_nn@hotmail.com ที่อยู่ 124/3 หมู่ 4 ตำบล เวียงมอกก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง 52160 ความสามารถพิเศษ การโต้วาที เล่นกีฬา(วอเล่ย์บอล) นิสัย ระเอียด สบายๆ ขี้สงสาร พูดเก่ง โกรธง่าย แต่หายเร็ว สีที่ชอบ สีชมพู สีน้ำตาล

นางสาวศิรินภา กลัดเล็ก “ขวัญ” www,378700000.com ประวัติผู้จัดทำ นางสาวศิรินภา กลัดเล็ก “ขวัญ” เกิดเมื่อ เกิดเมื่อวันที่ 08 เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2534 เบอร์โทรศัพท์ : 084-8946100 E-mail : Kladleg_kwannapa@hotmail.com ที่อยู่ : 149/3 หมู่ 3 ตำบล เวียงมอกก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง 52160 ความสามารถพิเศษ : เล่นกีฬา(แบดมินตัน) นิสัย : เป็นคนคิดมาก , เรียบง่าย, โกรธยาก ,ร่าเริง สีที่ชอบ : สีส้ม ,สีเขียวอ่อน

Thank You !