หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ สไลด์ประกอบการสอน เรื่อง การจำลองความคิด เป็นข้อความ.
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักเทคนิคการเขียน SAR
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การสอนควบคู่กับการเรียน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา

การตั้งวัตถุประสงค์ในประเด็นปัญหาที่สนใจ ทำอย่างไร

ประโยชน์ของการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย กำหนดประเด็นปัญหาของการวิจัย กำหนดแนวทางของการวิจัย เพื่อกำหนดของเขตของการวิจัย

หลักการเขียนวัตถุประสงค์ เขียนให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหาที่จะทำ เขียนเป็นความบรรยาย ไม่เป็นประโยคคำถาม ใช้ภาษาที่กะทัดรัด สั้น ได้ใจความชัดเจน มักขึ้นต้นด้วยคำว่า “เพื่อ....” เช่น - เพื่อสำรวจ............... - เพื่อสร้าง............... - เพื่อทดลอง.............. - เพื่อเปรียบเทียบ... - เพื่อศึกษาปัญหา..... ฯลฯ

ตัวอย่างการเขียนวัตถุประสงค์ ชื่อเรื่อง :แผ่นกรองอากาศน้ำมันหอมระเหยจากมะกรูด วัตถุประสงค์: 1. เพื่อทดลองประสิทธิภาพในการลดกลิ่นอับของน้ำมันหอมระเหยจากมะกรูด 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรักษากลิ่นของกระดาษแข็งและกระดาษชานอ้อย

การตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่สนใจ มีวิธีการอย่างไร

การตั้งสมมติฐานคืออะไร คือการคาดคะเนคำตอบที่อาจเป็นไปได้หรือคิดหาคำตอบล่วงหน้า บนฐานข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ทดลอง หรือศึกษาจากเอกสารต่างๆ คำตอบของปัญหาซึ่งคิดไว้นี้อาจถูกต้องแต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับ จนกว่าจะมีการทดลองเพื่อตรวจสอบ 

สมมติฐานแบ่งเป็น 2 ประเภท สมมติฐานเชิงบรรยาย (Descriptive hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนคาดเดาคำตอบของการวิจัย อยู่ในรูปของการบรรยาย 2. สมมติฐานเชิงสถิติ (Statistical hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนคาดเดาคำตอบของการวิจัยอยู่ในรูปของความ สัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปรในรูปของโครงสร้างทางคณิตศาสตร์

สมมติฐานทางสถิติ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท สมมติฐานเป็นกลาง (Null hypothesis) มีลักษณะเป็นเงื่อนไขหรือข้อตกลงเบื้องต้นที่ยอมรับก่อน สมมติฐานไม่เป็นกลางหรือ สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypothesis) ใช้เพื่อรองรับการสรุปผล

ประโยชน์ในการตั้งสมมติฐาน ช่วยจำกัดขอบเขตของการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนและตรงจุดที่ต้องการศึกษา ช่วยแนะแนวทางการวางแผนการวิจัยในการเลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง ช่วยให้ผู้วิจัยเห็นภาพที่จะศึกษาได้ชัดเจน เป็นแนวทางในการลงสรุปผลการวิจัย

หลักการเขียนสมมติฐาน ศึกษาวรรณคดี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เขียนข้อความ สมมติฐานให้กะทัดรัด ชัดเจน สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย ควรเขียนสมมติฐานให้อยู่ในรูปที่สามารถทดสอบได้ หากมีสิ่งที่ต้องการพิสูจน์หลายประเด็น ควรแยกเขียนเป็นข้อๆ

การตั้งสมมติฐานที่ดีมีหลักการดังนี้ 1. เป็นสมมติฐานที่เข้าใจง่าย เป็นประโยคบอกเล่า 2. เป็นสมมติฐานที่ตรวจได้โดยการศึกษา สำรวจ ทดลอง 3. เป็นสมมติฐานที่สอดคล้องและอยู่ในขอบเขตข้อเท็จจริง ที่ได้จากการสังเกตและสัมพันธ์กับปัญหาที่ตั้งไว้ 4. เลือกใช้คำหรือข้อความ ที่รัดกุม ไม่ฟุ่มเฟือย

ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน เรื่อง : การประดิษฐ์ถังดักไขมันเพื่อบำบัดน้ำเสีย วัตถุประสงค์ : เพื่อประดิษฐ์ถังดักไขมันสำหรับใช้ในการบำบัดน้ำเสีย สมมติฐาน : ถังดักไขมันที่ประดิษฐ์ขึ้นสามารถนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ น้ำที่ผ่านการบำบัดน้ำเสียจากการใช้ถังดักไขมันมีคุณภาพ น้ำดีขึ้น

กิจกรรม ให้นักเรียนฝึกตั้งวัตถุประสงค์และสมมติฐานในประเด็นปัญหาที่นักเรียนตั้งไว้ในใบงานที่ 2 ทำลงในใบงานที่ 3 (10 คะแนน)

ตัวอย่าง สภาพปัญหา : กาบกล้วยจากลำต้น ที่ตัดเอาเครือกล้วย แล้วตัดต้นทิ้งไป ซึ่งมีจำนวนมาก ปัญหาวิจัย: ภาชนะบรรจุภัณฑ์ที่ใช้โฟม พลาสติก ย่อยสลายทำลายยาก คำถามวิจัย: ถ้าจะนำกาบกล้วยจากลำต้นกล้วยที่ตัดทิ้ง มาทำเป็นภาชนะ บรรจุภัณฑ์จะได้หรือไม่ ชื่อเรื่อง: ศึกษาการทำบรรจุภัณฑ์จากกาบกล้วย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการทำบรรจุภัณฑ์จากกาบกล้วย สมมติฐาน: บรรจุภัณฑ์จากกาบกล้วยมีคุณภาพเทียบเท่ากับ ภาชนะบรรจุภัณฑ์ที่ใช้โฟม และพลาสติก