การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
NARENTHORN DATA.
Advertisements

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
แผนรับสาธารณภัยด้านการแพทย์ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ผลการดำเนินงาน EMS ปี 2551 ( ตุลาคม 50 – มิถุนายน 51) งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและ การบาดเจ็บ.
Basic 2D & Dimensions Week 2
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
การจัดการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม ในรายวิชาศึกษาทั่วไป
ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ใน สถานการณ์ภัยพิบัติ Medical Emergency Response Team Pairoj Khruekarnchana, MD. 1. Rajavithi Hospital under Department.
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ ถูกต้องและต่อเนื่อง นำสาระท้องถิ่นมาบูรณาการกับ สาระแกนกลาง ปรับโครงสร้างเวลาเรียนตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ดำเนินก.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
การดำเนินงาน RTI.
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
รายงานความคืบหน้า “โครงการจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์”
พื้นฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
Animal Health Science ( )
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการขาย
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support
Working with the families of the Midlife
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การรายงานผลการดำเนินงาน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ ช่วยชีพฉุกเฉิน การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ

การแพทย์ฉุกเฉินไทย การแพทย์ฉุกเฉินไทยได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง สามารถลดการบาดเจ็บ ป้องกันอาการป่วยมิให้รุนแรง ขึ้น ลดการเสียชีวิตและความบกพร่องพิการของอวัยวะ สำคัญด้วยความร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วนทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน แห่งชาติเป็นหน่วยงานประสาน ส่งเสริม สนับสนุน มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 จนถึงปัจจุบัน

การแพทย์ฉุกเฉินไทย การแพทย์ฉุกเฉินไทยยังมีภารกิจที่ต้องผลักดันการ พัฒนาการแพทย์ฉุกเฉินไทยในอีกหลายมิติ ตั้งแต่การ เตรียมพร้อมช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินจนถึงการพ้นภาวะ วิกฤติและส่งต่อสู่การฟื้นฟู ให้กลับมาเป็นปกติสุข

จำนวนปฏิบัติการกู้ชีพ Advanced Life Support (ALS) Immediate Life Support (ILS) Basic Life Support (BLS) First Response Unit (FR) http://ws.niems.go.th/ITEMS_DWH/ รายงาน ปี พ.ศ.2558 จำนวนปฏิบัติการ 1,403,746 ครั้ง

สถิติผลการรักษาขั้นต้น http://ws.niems.go.th/ITEMS_DWH/ รายงาน ปี พ.ศ.2558 ผู้บาดเจ็บจำนวน 1,413,681 ราย

ปัจจัยในการเพิ่มโอกาสรอดชีวิตให้กับผู้ป่วยฉุกเฉิน ระยะเวลาเกิดเหตุ - เวลาที่แจ้งเหตุ ระยะเวลารับแจ้งเหตุ - ชุดปฏิบัติการไปถึงที่เกิดเหตุ ความรุนแรงอาการ ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินที่ถูกวิธี

ระบบเดิม ระบบใหม่

ระบบที่พัฒนา พิสูจน์บุคคลจากลายนิ้วมือ (กระทรวงมหาดไทย) ตรวจสอบประวัติการรักษาพยาบาล (กระทรวงสาธารณสุข / สปสช.)

ระบบที่พัฒนา Citizen ID Citizen ID กรณีที่ทราบเลขประจำตัวประชาชน 1 Citizen ID ศูนย์สั่งการ 4 ประวัติการ รักษาพยาบาล 2 Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข Citizen ID 3 ประวัติการ รักษาพยาบาล

ประวัติการรักษาพยาบาล ระบบที่พัฒนา กรณีที่ไม่ทราบเลขประจำตัวประชาชน กรมการปกครอง 1 3 7 2 4 เวลาทดสอบ 21 วินาที Citizen ID ประวัติการ รักษาพยาบาล Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์สั่งการ 5 Citizen ID ประวัติการรักษาพยาบาล 6

ประโยชน์ที่ได้รับ พิสูจน์บุคคลจากลายนิ้วมือ กรณีผู้ป่วยหมดสติหรือ ไม่มีหลักฐานยืนยันตัวตน ตรวจสอบประวัติการรักษาพยาบาล การแพ้ยา เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนชุดปฏิบัติการในการรักษาพยาบาลขั้นต้น เพื่อการรักษาที่ถูกต้อง รวดเร็ว และปลอดภัยมากขึ้น ใช้ข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาลเป็นข้อมูลสนับสนุนโรงพยาบาลที่นำส่ง เพื่อการวินิจฉัย และทำการรักษาพยาบาล ต่อไป

ปัจจัยความสำเร็จของโครงการ ได้รับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการข้อมูล เพื่อใช้ข้อมูลร่วมกัน ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ฯลฯ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ ซอฟท์แวร์ ที่ใช้ในการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ

สมาชิก 1.นายประสงค์ เตชาภรณ์พงศ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) 2.นายสัมฤทธิ์ สุขทวี สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ศทส.) 3.นายธีปกรณ์ รักษาประเสริฐกุล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ศทส.) 4.นายมณฑล บัวแก้ว สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สนย.) 5.นายถิรภัทร์ ประกอบการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สนย.) 6.นายดุลยวัฒน์ มาป้อง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 7.นายภัคพล ตังโพธิ์กลาง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 8.นายธวัชชัย สุขบำเพิง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย