Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

System Requirement Collection (2)
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การเขียนโครงร่างวิจัย
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
บทที่ 6 งบประมาณ.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การออกแบบและเทคโนโลยี
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Quantitative Analysis
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

การพยากรณ์ (Forecasting) 2 เป็นการคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และนำผลที่ได้มาใช้ในการวางแผน เพื่อช่วยในการกำหนดระดับการผลิต การจัดการสินค้าคงคลัง ฯลฯ กระบวนการพยากรณ์ (Forecasting Process) 5 ขั้นตอน 1. ระบุวัตถุประสงค์ของการพยากรณ์ เพื่อให้สามารถเลือกเทคนิคการพยากรณ์ที่เหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ของผู้ใช้ 2. กำหนดช่วงเวลาที่ต้องการพยากรณ์ 2.1 การพยากรณ์ระยะสั้น (Short-term Forecasting) ไม่เกิน 1 ปี 2.2 การพยากรณ์ระยะปานกลาง (Medium-term Forecasting) 1-3 ปี 2.3 การพยากรณ์ระยะยาว (Long-term Forecasting) 3 ปีขึ้นไป Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

การพยากรณ์ (Forecasting) 3 3. เลือกเทคนิคการพยากรณ์ที่เหมาะสม (Forecasting Techniques) กับวัตถุประสงค์ของการพยากรณ์ ข้อมูลที่ต้องการ ระยะเวลาที่ต้องการและต้นทุนในการพยากรณ์ 3.1 เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting Techniques) 3.2 เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative Forecasting Techniques) 4. เก็บข้อมูลที่ต้องการใช้ในการพยากรณ์ 5. ทำการพยากรณ์ Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

การพยากรณ์ (Forecasting) 4 วิธีแยกส่วนประกอบ วิธีเอ็กซ์โพเนนเซียล วิธีบอกซ์เจนกินส์ แบบอนุกรม เวลา ระดมความเห็นของผู้บริหาร วิธีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ พยากรณ์ เชิงปริมาณ เทคนิคการ พยากรณ์ พยากรณ์ เชิงคุณภาพ การวิจัยตลาด รวบรวมข้อมูลจากพนักงานขาย แบบความ สัมพันธ์ วิธีตัวแบบถดถอยเชิงเส้น อย่างง่าย วิธีวิเคราะห์ตัวแบบจำลอง วิธีวิเคราะห์เศรษฐมิติ

การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา (Time-series Forecasting) 5 นำตัวเลขข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้นตามลำดับเวลา มาพยากรณ์ค่าที่ต้องการในอนาคต โดยมีสมมุติฐานคือ “ข้อมูลในอดีตสามารถเป็นตัวแทนที่ดีของค่าพยากรณ์ในอนาคต” เช่น การใช้ยอดขาย 10 เดือนที่ผ่านมา ทำนายยอดขายเดือนที่ 11 วิธีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย เหมาะกับข้อมูลไม่มีแนวโน้ม หรือฤดูกาลเข้ามาเกี่ยวข้อง พยากรณ์แบบอนุกรมเวลา วิธีเอ็กซ์โพเนนเซียลอย่างง่าย เป็นการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล โดยกำหนดน้ำหนักของข้อมูล ที่นำมาใช้พยากรณ์ต่างกัน (ข้อมูลที่อยู่ใกล้ปัจจุบันมีน้ำหนักมากที่สุด) Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา (Time-series Forecasting) 6 วิธีหาค่าเฉลี่ยอย่างง่าย MA = ค่าพยากรณ์ Ai = ค่าจริงงวดที่ i N = จำนวนงวดที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ย ∑Ai N MA = Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University

วิธีหาค่าเฉลี่ยอย่างง่าย เดือนที่ ยอดขาย(ล้านบาท) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ n = 3 ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ n = 5 1 12 2 9 3 10 4 7 ❇ ? 5 11 6 13 8 12+9+10 3 10.3 8.7 9+10+7 3

วิธีหาค่าเฉลี่ยอย่างง่าย เดือนที่ ยอดขาย(ล้านบาท) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ n = 3 ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ n = 5 1 12 2 9 3 10 4 7 5 11 6 ❇ ? 13 8 12+9+10+7+11 5 9.8 8.4 9+10+7+11+5 5 ให้พยากรณ์เดือนที่ 6 – 11 และ 8 - 11

วิธีหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนัก เดือนที่ ยอดขาย(ล้านบาท) น้ำหนัก ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ n = 3 1 12 2 9 3 10 4 7 ❇ ? 5 11 6 13 8 .20 .30 .50 (12 x .2) + (9 x .3) + (10 x .5) 10.1 การกำหนดน้ำหนัก ให้ข้อมูลงวดที่ใกล้เวลาปัจจุบันมากที่สุดมีน้ำหนักมากที่สุด ข้อมูลที่งวดที่ไกลออกไปจะลดลงไปตามลำดับ โดยข้อมูลทุกงวดรวมกันจะต้องเท่ากับ 1.00

วิธีหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนัก เดือนที่ ยอดขาย(ล้านบาท) น้ำหนัก ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ n = 3 1 12 2 9 3 10 4 7 5 11 ❇ ? 6 13 .20 .30 .50 (9 x .2) + (10 x .3) + (7 x .5) 10.1 8.3 ให้พยากรณ์เดือนที่ 6 -7 การกำหนดน้ำหนัก ให้ข้อมูลงวดที่ใกล้เวลาปัจจุบันมากที่สุดมีน้ำหนักมากที่สุด ข้อมูลที่งวดที่ไกลออกไปจะลดลงไปตามลำดับ โดยค่าน้ำหนักทุกงวดรวมกันจะต้องเท่ากับ 1.00

วิธีหาค่าเอ็กซ์โพเนนเซียลอย่างง่าย Ft+1 = œAt + (1 - œ) Ft Ft+1 = ค่าพยากรณ์งวดที่ t + 1 œ = ค่าคงที่ (0 – 1) At = ค่าจริงงวดที่ t Ft = ค่าพยากรณ์งวดที่ t ค่าคงที่ œ ถ้ามีค่าสูง ใช้กับการพยากรณ์ที่ข้อมูลจริงมีการเปลี่ยนแปลงสูง ถ้ามีค่าต่ำ ใช้กับการพยากรณ์ที่ข้อมูลจริงมีการเปลี่ยนแปลงต่ำ

วิธีหาค่าเอ็กซ์โพเนนเซียลอย่างง่าย Ft+1 = œAt + (1 - œ) Ft Ft+1 = ค่าพยากรณ์งวดที่ t + 1 œ = ค่าคงที่ (0 – 1) At = ค่าจริงงวดที่ t Ft = ค่าพยากรณ์งวดที่ t เดือนที่ ยอดขาย(ล้านบาท) œ = 0.3 œ = 0.5 1 12 2 9 ❇ ? 3 10 4 7 12 12 F2 = (0.3 x 12) + (1 – 0.3)(12)

วิธีหาค่าเอ็กซ์โพเนนเซียลอย่างง่าย Ft+1 = œAt + (1 - œ) Ft Ft+1 = ค่าพยากรณ์งวดที่ t + 1 œ = ค่าคงที่ (0 – 1) At = ค่าจริงงวดที่ t Ft = ค่าพยากรณ์งวดที่ t เดือนที่ ยอดขาย(ล้านบาท) œ = 0.3 œ = 0.5 1 12 2 9 3 10 ❇ ? 4 7 12 12 11.1 F3 = (0.3 x 9) + (1 – 0.3)(12) ทำต่อให้หมดทั้ง œ 0.3 และ 0.5

การพยากรณ์แบบความสัมพันธ์ของข้อมูล (Causal Forecasting) ใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เป็นเหตุเป็นผลกัน (Cause and Effect) มาพยากรณ์ค่าที่ต้องการในอนาคต พยากรณ์แบบความสัมพันธ์ของข้อมูล วิธีตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย

วิธีตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย y = a + bx y = ตัวแปรตาม (Dependent Variable) a = จุดตัดบนแกน y a = y - bx b = ค่าความลาดชันของเส้นตรง (Slope) ∑xy – n x y ∑x2 - n (x)2 x = ค่าตัวแปรอิสระ (Independent Variable) b =

วิธีตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย ข้อมูลที่ จำนวนวันโฆษณา x ยอดขาย y xy x 2 1 3 20 60 9 2 5 22 110 25 4 27 108 16 7 34 238 49 14 28 6 37 222 36 30 120 8 46 414 81 18 54 รวม 43 248 1354 245 เฉลี่ย 4.78 27.56 b = (∑xy – n x y) / (∑x2 - n (x )2) = 1354 – 9(4.78)(27.56) 245 – 9(4.78)2 = 4.27 a = y – bx = 27.56 – (4.27)(4.78) = 7.15 92.55 y = a + bx y = 7.15 + 4.27 x ถ้าโฆษณา 20 วัน จะได้ยอดขายประมาณเท่าใด ?

วิธีตัวแบบการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย ข้อมูลที่ จำนวนวันโฆษณา x ยอดขาย y xy x 2 1 3 20 2 5 22 4 27 7 34 14 รวม เฉลี่ย b = (∑xy – n x y) / (∑x2 - n (x)2) a = y – bx y = a + bx ถ้าโฆษณา 10 วัน จะได้ยอดขายประมาณเท่าใด ?

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ วิธีเดลไฟ (Delphi Method) เป็นการระดมความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยให้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่มีอิทธิพลการโน้มน้าวจากบุคคลอื่น

The End การพยากรณ์ (Forecasting) Program in Computer Science, Science and Technology of Faculty, Suan Dusit University