การเบิกจ่ายเงินเดือน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
กรอบการบันทึกบัญชีปีงบประมาณ 2558 ประเภทเงินงบประมาณ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
ธุรการกลุ่มบริหารงานการเงิน และสินทรัพย์
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
กลุ่มงานบริหารทั่วไป มีงานในความรับผิดชอบ จำนวน ๓ งาน ได้แก่ - งานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป - งานพัสดุ - งานการเงินและบัญชี
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ความหมาย (ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน)
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การเบิกจ่ายเงิน ตามโครงการฝึกอบรม
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กรณี เดินทางไปราชการ เพื่อเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนาฯ
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
บำนาญยุคใหม่ หัวใจไม่ว้าวุ่น
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ CoP การเงินและบัญชี ม.อ.
บำเหน็จบำนาญ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สำหรับตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
แผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเบิกจ่ายเงินเดือน

พระราชกฤษฎีกา การจ่ายเงินเดือน เงินปี บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ 2 เม.ย. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2549 มีผลบังคับใช้ 18 เม.ย. 2549 (ม.4) เงินเดือน หมายความว่า เงินเดือนและเงินอื่นที่มีกำหนดจ่ายเป็นรายเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่าย ประเภทงบบุคลากรที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน 1.จ่ายตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือนที่ บก.อนุมัติ (ม.10) 2.กรณีได้รับเงินเดือนไม่เต็มเดือน ให้จ่ายตามจำนวนวันที่มีสิทธิ (ม.11) 3.กรณีบรรจุใหม่/กลับเข้ารับราชการใหม่ จ่ายตั้งแต่วันที่เริ่มเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ(วันที่รายงานตัว) (ม.12) 4.เลื่อนชั้น/ระดับ/ขั้นเงินเดือน จ่ายตั้งแต่วันที่ระบุในคำสั่ง (ม.13) 5.กรณีให้ดำรงตำแหน่งใหม่ ให้เป็นไปตามคำสั่งของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ม.14) 6.กรณีโอนข้าราชการ ให้จ่ายทางสังกัดใหม่ งดจ่ายทางสังกัดเดิม ตั้งแต่วันที่ระบุในคำสั่ง กรณีที่เบิกเงินเดือนทางสังกัดเดิมล่วงล้ำ ให้เบิกทางสังกัดใหม่ใช้หนี้(โดยวิธีเบิกหักผลักส่ง ไม่ให้เบิกเป็นตัวเงิน) (ม.15)

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน 7.ละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือหนีราชการ ห้ามจ่ายสำหรับวันที่ละทิ้งหน้าที่หรือหนีราชการนั้น (ม.16) 8.ถูกตัดเงินเดือน ต่อมาได้รับเงินเดือนเพิ่มและยังไม่พ้นโทษ ให้ตัดเงินเดือนตามอัตราเดิมต่อไป (ม.17) 9. กรณีตาย จ่ายถึงวันที่ถึงแก่ความตาย (ม.18) 10.ลาออก จ่ายถึงวันที่ ก่อนลาออก แต่ถ้าถึงกำหนดแล้วยังไม่ได้รับทราบคำสั่งให้ลาออกและผู้นั้นยังคงรับราชการต่อมา ให้จ่ายถึงวันที่รับทราบ หรือควรได้รับทราบคำสั่ง (ม.19(1) ) 11.ให้ออก ปลดออก จ่ายถึงวันที่ ระบุในคำสั่ง แต่ถ้ายังไม่ได้รับทราบคำสั่งและผู้นั้นยังคงรับราชการต่อมา ให้จ่ายถึงวันที่รับทราบ หรือควรได้รับทราบคำสั่ง

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน 12.ตามข้อ 10,11 หากจำเป็นต้องส่งมอบงาน ให้จ่ายถึงวันส่งมอบงานเสร็จแต่ต้องไม่เกิน 15 วันนับแต่วันที่ระบุในคำสั่ง หรือวันที่รับทราบ หรือควรได้รับทราบคำสั่ง 13. เกษียณอายุ จ่ายถึงวันสิ้นปีงบประมาณ 14. จ่ายเงินเดือนระหว่างลา ให้เป็นไปตามระเบียบ 15. จ่ายเงินประจำเดือน จ่ายก่อนวันทำการสุดท้ายของเดือน 3 วันทำการ(พรฎ.ปี35 ม.20 แก้ไขโดย ฉ.4 ปี 49 ม.8) 16.กรณีถูกสั่งพักราชการ/ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อน/อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ (ให้เป็นไปตาม ขบค.กห.ว่าด้วย (การตัดฯ ปี04 /การสั่งพักฯ ปี 28) )

การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษให้แก่ข้าราชการ 3.เท่าของเงินเดือน (รวม เงินเพิ่มค่าวิชา, เงินค่าฝ่าฯ,พ.ส.ร. และ พ.ป.ผ.)(ม.23) และข้าราชการที่ถูกสั่งพักราชการ/ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อน/อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ ถ้ามีสิทธิได้รับเงินเดือน ตาม ม.21และ22 ก็ให้จ่ายเงินช่วยพิเศษด้วยเช่นเดียวกัน ตายในระหว่างละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือหนีราชการ ห้ามมิให้จ่ายเงินช่วยพิเศษ เงินช่วยพิเศษ จ่ายให้กับใคร(ม.24) จ่ายให้แก่ผู้ที่ผู้ตายแสดงเจตนาไว้ ถ้าไม่แสดงเจตนา หรือผู้ที่ถูกแสดงเจตนาไว้ตายไปก่อนหรือตายก่อนที่จะมีการจ่ายเงินช่วยฯ ให้จ่ายแก่ใคร 1.คู่สมรส 2. บุตร และ 3.บิดามารดา (บุคคลในลำดับก่อนยังมีชีวิตอยู่ลำดับถัดไปไม่มีสิทธิ)

การขอรับเงินช่วยพิเศษ (ม.25)ถ้าหน่วยมีความจำเป็นต้องเข้าจัดการศพ เพราะไม่มีผู้ใดเข้าจัดการในเวลาอันควร ให้หน่วยหักเงินค่าจัดการศพ ได้เท่าที่จ่ายจริง ส่วนที่เหลือจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ ให้ยื่นขอรับภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ข้าราชการถึงแก่ความตาย (ม.26)สำหรับข้าราชการที่ถูกสั่งพักราชการ / ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อน / อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ ภายใน 1 ปีนับแต่การสิ้นสุดลงของแต่ละกรณี

ให้เป็นไปตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม (พรฎ.เงินเดือน ปี35 ม.36) การจ่ายเงินเดือนระหว่างการลา ของข้าราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม ให้เป็นไปตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือนระหว่างลา 1. ลาป่วย 90/180/270/365 วัน(4วันขึ้นไป มีใบรับรองแพทย์) 2. ลาคลอดบุตร 90 วัน(ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์) 3. ลากิจ ข้าราชการ 45 วันทำการ ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตรให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรได้อีก 150 วันทำการ(ไม่มีสิทธิรับเงินเดือน) ทหารกองประจำการ 23 วันทำการ อยู่ในท้องที่กันดารมีโรคภัยชุกชุม ประสบอุบัติ เหตุจากการปฏิบัติราชการ ลาต่อได้อีก 90 วัน ประสบอันตรายตามหน้าที่จากไอพิษ วัตถุมีพิษ ระเบิด ลาต่อได้อีก 180 วัน ประสบอันตรายตามหน้าที่ ในน้ำ อากาศ ใต้ดิน ทั้งขณะขึ้นหรือลง ลาต่อได้อีก 275 วัน ระเบียบ ทบ.ว่าด้วย การลา พ.ศ.2551 ข้าราชการลาไปช่วยภริยาที่คลอดบุตรภายใน30วันหลังคลอด ให้ได้รับ เงินเดือนระหว่างลาไม่เกิน15วัน แต่ถ้าหลัง30วันแล้วไม่ให้รับเงินเดือน

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือนระหว่างลา 4. ลาพักผ่อนประจำปี 10 / 20 / 30 วันทำการ (ปีแรกบรรจุไม่ครบ 6 เดือน ห้ามลา) 5. ลาบวช / พิธีฮัจย์ 120 วัน (ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ผู้ที่เคยบวชมาแล้ว จะลาบวชอีกไม่ได้ ลาสิกขาแล้ว ต้องรายงาน ภายใน 5 วัน นับแต่วันลาสิกขา) 6. ลาปฏิบัติหน้าที่องค์กรต่างประเทศ งดเบิก 7. ลาติดตามคู่สมรส 2 ปี/จำเป็นอีกได้ 2 ปี/เกิน4 ปี งดเบิก/งดเบิก/ให้ลาออก รับราชการเกิน 10 ปีขึ้นไปนำวันลาสะสม มารวมกับปีปัจจุบันได้ไม่เกิน 30 วันทำการ สะสมวันลาได้ไม่เกิน 20 วัน

การจ่ายเงินบำนาญ(ม.42) ผู้มีสิทธิรับบำนาญถึงแก่ความตาย (ม.42) การจ่ายเงินบำนาญ จ่ายก่อนวันทำการสุดท้ายของเดือน 5 วันทำการ (พรฎ.ปี35 ม.43 แก้ไขโดย ฉ.4 ปี 49 ม.9) ผู้มีสิทธิรับบำนาญถึงแก่ความตาย (ม.42) - จ่ายเงินบำนาญให้ถึง วันที่ถึงแก่ความตาย - จ่ายเงินช่วยพิเศษ 3 เท่าของบำนาญ รวมเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ(ชคบ.) ถ้ามี ผู้รับบำนาญจะรับบำนาญไม่ได้จนกว่าจะได้แสดงตน หรือส่งใบรับรองการมีชีวิตแล้ว

เงินเดือนเหลือจ่าย(ถือเป็นมรดก) 1. จ่ายเป็นสินสมรสให้คู่สมรสจำนวนครึ่งหนึ่ง 2. จ่ายให้ทายาทโดยชอบธรรม 2.1 บิดา 1 ส่วน 2.2 มารดา 1 ส่วน 2.3 คู่สมรส 1 ส่วน(รวมกับข้อ 1) 2.4 บุตร คนละ 1 ส่วน

ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ. ศ ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ.ศ.2504 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉ.2) พ.ศ.2506 (ข้อ 5)ละทิ้งหน้าที่ / รับราชการไม่เต็มเดือน / ลาเกินกำหนด(ข้อบังคับ กห) / ขาด/หนีราชการ ให้ตัดเงินรายเดือน (ข้อ 7)ข้าราชการกลาโหมประจำการ นักเรียนทหาร ทหารกองประจำการ ถูกควบคุมตัวฯ/สั่งพักราชการ ให้งดจ่ายเงินรายเดือนและค่าเช่าบ้าน ไว้ตามวันที่ถูกควบคุมตัวฯ/สั่งพักราชการ ผู้ถูกสั่งพักราชการ ได้ทำงานล่วงเลยวันที่สั่งพัก เพราะยังไม่ได้รับทราบคำสั่ง (ข้อ 8) ให้จ่ายเงินรายเดือนและค่าเช่าบ้านจนถึงวันที่รับทราบ/ควรได้รับทราบคำสั่ง ถ้าจำเป็นต้องมีการส่งมอบงานก็ให้จ่ายได้จนส่งมอบงานเสร็จแต่ต้องไม่เกิน 15 วัน

ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ. ศ ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ.ศ.2504 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉ.2) พ.ศ.2506 ผู้ถูกควบคุมตัว หากมีความจำเป็นต้องส่งมอบงาน ในระหว่างถูกควบคุมตัว (ข้อ 8 วรรค 2) ให้จ่ายเงินรายเดือนและค่าเช่าบ้านในระหว่างการส่งมอบงานนั้นด้วยแต่ต้องไม่เกิน 15 วัน ผู้ถูกควบคุมตัว / ผู้ถูกสั่งพักราชการ เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว(ข้อ 9) 1.ไม่ได้กระทำความผิด และไม่มีมลทินมัวหมอง ให้จ่ายเงินฯที่งดจ่ายไว้เต็มจำนวน 2.ไม่ได้กระทำความผิด แต่มีมลทินมัวหมอง หรือมีความผิดแต่รอการกำหนดโทษไว้ หรือกำหนดโทษแต่รอการลงโทษไว้ ให้จ่ายเงินฯที่งดจ่ายไว้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของเงินรายเดือนที่ได้รับก่อนวันถูกควบคุมตัว / ถูกสั่งพักราชการ แต่ค่าเช่าบ้านให้จ่ายเต็มจำนวน

ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ. ศ ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ.ศ.2504 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉ.2) พ.ศ.2506 ผู้ถูกควบคุมตัว / ผู้ถูกสั่งพักราชการ เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว 3.ได้กระทำความผิดถูกศาลฯลงโทษจำคุก หรือหนักกว่าจำคุกหรือถูกสั่งไล่ออก หรือถูกถอดออกจากยศทหาร หรือถูกสั่งปลดออก หรือถูกให้ออกโดยไม่มีเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ ห้ามมิให้จ่ายเงินที่งดไว้ ผู้ถูกควบคุมตัว/ผู้ถูกสั่งพักราชการ ตายก่อนคดีถึงที่สุด(ข้อ 10) ให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาและวินิจฉัยเท่าหลักฐานที่มีอยู่ ว่าจะจ่ายเงินที่งดไว้หรือไม่เพียงใด โดยอนุโลมตามข้อ 9 ทหารประจำการ นักเรียนทหาร ทหารกองประจำการ ถูกลงทัณฑ์ตามวินัยทหาร ไม่ถูกตัดเงินเดือน(ข้อ 11)

พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กบข.) พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กบข.) กำหนดให้ผู้เข้ารับราชการตั้งแต่ 27 มี.ค.40 ต้องเป็นสมาชิกทุกคน เงินประเดิม - เงินที่รัฐบาลนำส่งเข้าบัญชีสมาชิก กบข. ที่เป็นข้าราชการอยู่ก่อน 27 มี.ค.40 เงินสะสม - เงินที่สมาชิกสะสมเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน 3% เงินสมทบ - เงินที่รัฐบาลจ่ายสมทบเข้ากองทุนให้สมาชิก 3% เงินชดเชย - เงินที่รัฐบาลนำส่งเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน2%

พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กบข.) พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กบข.) เงินสะสม กบข. สามารถออมเพิ่มได้ รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 % ดังนี้ 1.เงินสะสม เดิม 3 % 2. เงินออมเพิ่ม 12 %

เงินที่จะได้รับ เมื่อออกจากสมาชิก กบข. เป็นสมาชิกก่อน 27 มี.ค.40 เงินที่จะได้รับ เมื่อออกจากสมาชิก กบข. เป็นสมาชิกก่อน 27 มี.ค.40 1. ออก มีสิทธิได้รับบำนาญ และเลือกรับบำนาญ ได้รับเงิน ประเดิม + สะสม + สมทบ + ชดเชย (รวมดอกผลของเงินทั้ง 4) 2. ออก มีสิทธิได้รับบำนาญ แต่เลือกรับบำเหน็จ ได้รับเงิน สะสม + สมทบ (รวมดอกผลของเงินทั้ง 2) 3. ออก ไม่มีสิทธิได้รับบำนาญ แต่มีสิทธิได้รับเบี้ยหวัด 4. ออก มีสิทธิได้รับรับบำเหน็จ ได้รับเงิน สะสม + สมทบ (รวมดอกผลของเงินทั้ง 2 ) 3.เมื่อย้ายประเภท มีสิทธิได้รับบำนาญ และเลือกรับบำนาญ จะได้รับเงิน ประเดิม + ชดเชย + ดอกผล

สมาชิก กบข.เสียชีวิตในระหว่างรับราชการ ทายาท มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด รวมกับ เงินสะสม + เงินสมทบ(รวมดอกผลของเงินทั้ง 2) สูตรการคำนวณบำเหน็จฯ = เงินเดือนสุดท้าย x อายุราชการ (สูตรเดียวกับข้าราชการที่ไม่ได้เป็นสมาชิก) สูตรบำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x อายุราชการ 50 แต่ต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

เงินได้ต้องคำนวณภาษี เงินเดือน + เงินเพิ่มที่จ่ายควบกับเงินเดือน + เงินประจำตำแหน่ง + เงินค่ารถประจำตำแหน่ง อื่น ๆ(ถ้ามี) เงินเดือน x 12 = รายได้พึงประเมินทั้งปีที่ต้องเสียภาษี ( ม.ค.-มี.ค., เม.ย.-ก.ย., ต.ค.-ธ.ค.)

คำนวณภาษี เงินได้สุทธิ อัตรา ภาษีแต่ละขั้น 1- 100,000 5% ยกเว้น เงินได้สุทธิ อัตรา ภาษีแต่ละขั้น 1- 100,000 5% ยกเว้น 100,001 - 150,000 10% ยกเว้น 150,001 - 500,000 10% 35,000 500,001 - 1,000,000 20% 100,000 1,000,001 – 4,000,000 30% 900,000 4,000,001 ขึ้นไป 37%

ส่วนลดหย่อน เงินสะสม กบข. (ถ้ามี) ไม่เกิน 500,000.- เงินสะสม กบข. (ถ้ามี) ไม่เกิน 500,000.- 40 %ของเงินรายได้ แต่ไม่เกิน 60,000.- ส่วนตัว 30,000.- คู่สมรสไม่มีรายได้ 30,000.- บุตรศึกษาไม่เกิน 25 ปี 17,000.- บุตรไม่ศึกษา ไม่เกิน20 ปี 15,000.- ประกันชีวิต ( 10ปี ) 100,000.-

ส่วนลดหย่อน ดอกเบี้ยชำระเงินกู้ปลูกบ้าน 100,000 ดอกเบี้ยชำระเงินกู้ปลูกบ้าน 100,000 อุปการะเลี้ยงดูบิดา (60ปีขึ้นไป) 30,000 อุปการะเลี้ยงดูมารดา (60ปีขึ้นไป) 30,000 บิดามารดาคู่สมรส คนละ 30,000 ซื้อหน่วยลงทุนระยะยาว (5ปี) 500,000 RMF/LTF เงินบริจาค ไม่เกิน 10% ของเงินได้สุทธิหลังหักค่าใช้จ่าย

จบ