งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บำนาญยุคใหม่ หัวใจไม่ว้าวุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บำนาญยุคใหม่ หัวใจไม่ว้าวุ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บำนาญยุคใหม่ หัวใจไม่ว้าวุ่น
กลุ่มงานการเงิน งบประมาณและบัญชี สำนักอำนวยการ

2 บำเหน็จบำนาญข้าราชการ
ความหมาย บำเหน็จ คือ เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมา ซึ่งจ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว บำนาญ คือ เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมา ซึ่งจ่ายเป็นรายเดือน

3 บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จ หรือ บำนาญ เหตุทดแทน เหตุทุพพลภาพ
เหตุสูงอายุ (เกษียณอายุ) เหตุรับราชการนาน หรือ มาตรา 48

4 รายการ ระบบ กบข. (พรบ. 2539) 1. ผู้เป็นสมาชิก ข้าราชการทุกประเภท ยกเว้นข้าราชการการเมือง ผู้เป็นข้าราชการอยู่ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และสมัครเป็น สมาชิก ภายในวันที่ 26 มีนาคม 2540 ผู้ที่เข้ารับราชการหรือโอนมาเป็นข้าราชการ ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2540 เป็นต้นไป 2. เกษียณอายุ และมีเวลาราชการ 25 ปีขึ้นไป มีสิทธิเลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญ บำเหน็จ จะได้รับ 2 ส่วนคือ 1.บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้ายคูณเวลาราชการ 2.เงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว บำนาญ จะได้รับ 2 ส่วนคือ บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายคูณเวลาราชการ หารด้วย 50 (แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของเงินเดือนเฉลี่ย) เงินสะสม เงินสมทบ เงินชดเชย เงินประเดิม (ถ้ามี) และ ผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว

5 3. ลาออกจากราชการหรือถูกปลดออกจากราชการ (อายุไม่ถึง 50 ปี)
3.1 เวลาราชการไม่ถึง 10 ปี ไม่มีสิทธิรับบำเหน็จหรือบำนาญแต่ได้รับเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว 3.2 เวลราชการตั้งแต่ 10 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี มีสิทธิรับบำเหน็จและได้รับเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว 3.3 เวลาราชการตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป มีสิทธิเลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญเช่นเดียวกับรายการที่ 2 (เกษียณอายุ และมีเวลาราชการ 25 ปีขึ้นไป)

6 4. ออกจากราชการเพราะเหตุทุพพลภาพ เหตุทดแทน เหตุสูงอายุ หรือถูกปลดออกจากราชการ (อายุ 50 ปีขึ้นไป)
4.1 เวลาราชการตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปี มีสิทธิรับบำเหน็จและได้รับเช่นเดียวกับรายการที่ 3.2 4.2 เวลาราชการตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป มีสิทธิเลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญเช่นเดียวกับรายการที่ 2 4.3 กรณีทุพพลภาพเนื่องจากปฏิบัติราชการ มีสิทธิเลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญเช่นเดียวกับรายการที่ 2 และได้รับบำนาญพิเศษอีกส่วนหนึ่ง ตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494

7 5. ถูกไล่ออกจากราชการหรือเสียชีวิตเพราะเหตุประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง
ตนเองหรือทายาทได้รับเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว 6. เสียชีวิตระหว่างรับราชการ ทายาทจะได้รับเงิน 2 ส่วน คือ บำเหน็จตกทอด ซึ่งเท่ากับเงินเดือนๆ สุดท้ายคุณเวลาราชการ เงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว หากเสียชีวิตเนื่องจากปฏิบัติราชการทายาทจะได้รับบำนาญพิเศษอีกส่วนหนึ่ง 7. เสียชีวิตระหว่างรับบำนาญ ทายาทมีสิทธิรับบำเหน็จตกทอด จำนวน 30 เท่า ของบำนาญ 8. สิทธิประโยชน์ของสมาชิก สิทธิสวัสดิการต่างๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และจะได้รับสิทธิอื่นๆ อีกคือ สิทธิประโยชน์ด้านภาษีจากเงินสะสม สิทธิในการกู้เงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงิน ดังกล่าวตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด สิทธิการรับเงินต่างๆ ในกองทุน เป็นสิทธิเฉพาะตัวของสมาชิก ไม่อาจโอนกันได้

8 พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494
การคำนวณ บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้ายxเวลาราชการ บำนาญ= เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ หาร 50 มาตรา 29 เวลาราชการให้นับแต่จำนวนปี เศษของปีถ้า ถึงครึ่งปีให้นับเป็นหนึ่งปี (เวลาปกติ+ทวีคูณ) (เช่น 9 ปี 6 เดือน ปัดเป็น 10 ปี / 24 ปี 6 เดือน ปัดเป็น 25 ปี) บำนาญปกติให้จำกัดจำนวนอย่างสูงไม่เกินเงินเดือน เดือนสุดท้าย ตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ (ฉบับที่5) พ.ศ.2502

9 ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จบำนาญตาม พรบ.2494
เงินเดือนเดือนสุดท้าย 40,000 บาท เวลาราชการปกติ+ทวีคูณ = 51 ปี บำเหน็จ 40,000 x 51 = 2,040,000 บาท บำนาญ 40,000 x 51 หาร 50 = 40,800 บาท ได้รับบำนาญไม่เกิน 40,000 บาท (ไม่เกินเงินเดือนเดือน สุดท้าย)

10 พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539(สมาชิก กบข.)
การคำนวณ บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลา ราชการ บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ หาร 50 ไม่เกิน 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย

11 ตัวอย่าง การคำนวณบำเหน็จบำนาญ กบข.
เงินเดือนเดือนสุดท้าย 40,000 บาท เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย 35,000 บาท เวลาราชการปกติ+ทวีคูณ = 51 ปี บำเหน็จ กบข. 40,000 x = 2,040,000 บาท บำนาญ กบข. 35,000 x 51 ÷ = 35,700 บาท ได้รับบำนาญ = 24,500 บาท (ไม่เกิน 70% ของเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย) (35,000 x 70% = 24,500)

12 บำเหน็จดำรงชีพ รับครั้งแรก บำนาญ x 15 เท่า ไม่เกินสองแสนบาท รับครั้งที่สอง เมื่ออายุ 65 ปีบริบูรณ์ (รวมกับครั้งแรกไม่เกินสี่แสนบาท) อย่าหลงเชื่อข่าวลือ

13 ตัวอย่าง การคำนวณบำเหน็จดำรงชีพ
ตัวอย่าง การคำนวณบำเหน็จดำรงชีพ ตัวอย่างที่ 1 บำนาญ 40,000 x 15 เท่า = 600,000 บาท รับครั้งแรก 200,000 บาท รับครั้งที่สอง เมื่ออายุครบ 65 ปี = 200,000 บาท (รวมสองครั้งไม่เกินสี่แสนบาท) ตัวอย่างที่ 2 บำนาญ 20,000 บาท x 15เท่า= 300,000บาท รับครั้งที่สอง เมื่ออายุครบ 65 ปี = 100,000 บาท ตัวอย่างที่ 3 บำนาญ 13,000 บาท x 15เท่า= 195,000 บาท รับครั้งแรก 195,000 บาท บำนาญน้อยจึงไม่มีสิทธิรับครั้งที่สองเมื่ออายุครบ 65 ปี

14 การเสียสิทธิรับบำนาญ
ยกเลิกแล้ว สำหรับกรณีผู้รับบำนาญ 1. กระทำความผิดถึงต้องโทษ จำคุก 2. เป็นบุคคลล้มละลายทุจริต ตามกฎหมาย ว่าด้วยล้มละลาย ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2551

15 บำเหน็จตกทอด  ข้าราชการ ตาย  ผู้รับบำนาญ ตาย
เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ  ผู้รับบำนาญ ตาย อัตราบำนาญ + เงิน ช.ค.บ. X 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพที่ รับไปแล้ว หัก บำเหน็จค้ำประกัน (ถ้ามี) การคำนวณเงินบำเหน็จตกทอดตามความในลักษณะนี้ รายใดได้ผลเป็นยอดเงิน บำเหน็จตกทอดไม่ถึงสามพันบาท ก็ให้จ่ายเป็นเงินบำเหน็จตกทอดสามพันบาท

16 การแบ่งจ่ายบำเหน็จตกทอด
จ่ายแก่ทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ คือ คู่สมรส ส่วน บุตร (1 หรือ 2 คน) 2 ส่วน ถ้าบุตรตั้งแต่ 3 คน ขึ้นไป 3 ส่วน บิดา มารดา 1 ส่วน ***กรณีไม่มีบุคคลทั้ง 3 ลำดับข้างต้น ให้จ่ายแก่บุคคลที่ผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้ ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด บำเหน็จตกทอด ไม่ใช่มรดก จึงไม่สามารถใช้พินัยกรรมมาเป็นหลักฐาน ในการขอรับเงินได้

17 หนังสือแสดงเจตนา 2 อย่าง
ตาม พรบ.บำเหน็จ บำนาญฯ ระบุตัวผู้รับบำเหน็จ ตกทอดต้องเขียน ให้บุคคลอื่น ที่มิใช่บิดามารดา คู่ สมรส หรือ บุตร ถ้าไม่มีทายาทและ ไม่มีหนังสือไม่ให้ จ่ายแก่ผู้ใด ตามพรฏ.เงินเดือน เงินปี ฯ ระบุตัวผู้รับเงินช่วย พิเศษ (ค่า ทำศพ) จะเขียนให้ บิดา มารดา คู่สมรส บุตร หรือบุคคลอื่นก็ได้ ถ้าไม่มีหนังสือจะจ่าย ตามลำดับที่ กฏหมายกำหนด

18 การเขียนหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด
ตาม พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญฯ ผู้รับบำนาญ จัดทำตามแบบและวิธีการที่ กระทรวงการคลังกำหนด  ห้ามเขียนให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตร  เขียนชื่อบุคคลอื่น ที่เป็นบุคคลธรรมดา(ไม่ใช่นิติ บุคคล) ไม่จำกัดจำนวน  ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ / ให้เจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อรับ หนังสือ ในหน้า 2 ด้วย ให้เก็บคู่ฉบับหนังสือไว้ 1 ฉบับ  ฝากไว้ หรือบอกใครด้วยว่า เก็บไว้ที่ไหน เป็นอะไร ไป จะได้หากันเจอ  ถ้าไม่มีทายาทและไม่มีหนังสือแสดงเจตนา ไม่จ่าย ให้แก่ผู้ใด ให้สิทธินั้นเป็นอันยุติลง

19 การเขียนหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ (ค่าทำศพ)
ตาม พระราชกฤษฎีกา การจ่ายเงินเดือน เงินปี ฯ  เขียนระบุให้ใครก็ได้ เช่น บิดา หรือ มารดา หรือ คู่สมรส หรือ บุตร หรือบุคคลอื่นใด(บุคคลธรรมดา) เพียงคนเดียว  กรณีไม่มีหนังสือแสดงเจตนาฯให้จ่ายแก่บุคคลตามลำดับก่อนหลัง ดังนี้ 1. คู่สมรส กรณีไม่มีหนังสือแสดงเจตนา 2. บุตร กรณีไม่มี หนังสือ + คู่สมรส 3. บิดาหรือมารดา กรณีไม่มี หนังสือ+คู่สมรส+บุตร หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด เขียนให้แก่ บุคคลธรรมดา ไม่จำกัดจำนวน แก้ไขแล้วตามราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 14 มกราคม 2554 เป็นประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด ให้ทำขึ้น สองฉบับ (คู่ฉบับ) มีแบบแนบท้ายประกาศอยู่ 2 แบบ คือแบบที่ 1 เขียนครั้งแรก แบบที่ 2 เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขหนังสือที่ได้ทำไว้แล้ว ประกาศฉบับใหม่นี้ ข้าราชการ หรือผู้รับบำนาญสามารถมอบฉันทะ ให้ผู้อื่นนำหนังสือแสดงเจตนาที่ทำขึ้นแล้วไปยื่นแทนตนเองได้ โดยไปยื่นที่ส่วนราชการเจ้าสังกัด หรือส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ แล้วแต่กรณี ให้เจ้าหน้าที่เซ็นต์ชื่อรับหนังสือที่คู่ฉบับ ให้ท่านเก็บไว้ แล้วแจ้งบุคคล ที่ท่านแสดงเจตนาว่าเก็บไว้ที่ไหน (ถ้าส่วนราชการทำหาย ทายาทสามารถนำคู่ฉบับไปใช้ยืนยันได้) (แม้จะประกาศใช้ใหม่ แต่ถ้าใครมีอยู่เดิมไม่ขัดแย้งกับประกาศฉบับใหม่นี้ ก็ยังคงใช้ได้ต่อไป)

20 สรุป สิทธิในบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
บำเหน็จ จ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว บำนาญ จ่ายเป็นรายเดือนจนกว่าจะถึงแก่ ความตาย + บำเหน็จดำรงชีพ + ชคบ. + สวัสดิการ + เงินค่าทำศพ + บำเหน็จตกทอด

21 บำเหน็จลูกจ้าง(ฉบับที่ 8) พ.ศ.2552
บำเหน็จรายเดือน มีเวลาราชการปกติ + เวลาทีวีคูณ = 25 ปี เป็นต้นไป การคำนวณ ค่าจ้างเดือนสุดท้าย X จำนวนเดือนที่ทำงาน หาร 12 หาร 50 (เศษของบาทให้ปัดทิ้ง) จ่ายให้ทุกเดือนจนถึงแก่ ความตาย เข้าระบบ e filing แล้ว

22 ตัวอย่าง การคำนวณบำเหน็จลูกจ้าง
เงินเดือนเดือนสุดท้าย X อายุราชการ 12 บำเหน็จลูกจ้างรายเดือน เงินเดือนเดือนสุดท้าย X อายุราชการ 12 บำเหน็จลูกจ้าง 50

23 ผู้รับบำเหน็จรายเดือน โปรดทราบ
ไม่มีสวัสดิการ ไม่มีเงิน ชคบ. ไม่มีค่าทำศพ มีบำเหน็จตกทอด ให้ทำหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตก ทอด ไม่มีการทำหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วย พิเศษ(ค่าทำศพ)

24 ผู้รับบำเหน็จรายเดือน
สิทธิประโยชน์ ลูกจ้างประจำ ผู้รับบำเหน็จรายเดือน มีสวัสดิการสำหรับตนเอง และครอบครัว ตาย จ่ายบำเหน็จปกติ ให้แก่ทายาท ตาม ปพพ.ว่า ด้วยมรดกโดยอนุโลม ไม่ต้องทำหนังสือแสดง เจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตก ทอดเพราะไม่ใช่บำเหน็จตก ทอด ตายจ่ายเงินช่วยพิเศษ (ค่า ทำศพ) 3 เท่าของอัตราค่าจ้าง ให้ทำหนังสือแสดงเจตนา ระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ ออกจากงาน ได้รับบำเหน็จ เงินก้อน หรือบำเหน็จราย เดือน ไม่มีสวัสดิการสำหรับตนเองและ ครอบครัว ตาย จ่ายบำเหน็จตกทอด 15 เท่าของบำเหน็จรายเดือน ให้ทำหนังสือแสดงเจตนาระบุตัว ผู้รับบำเหน็จตกทอด บำเหน็จค้ำประกัน 15 เท่าของ บำเหน็จรายเดือน ตาย ไม่มีเงินช่วยพิเศษ (ค่าทำ ศพ) ไม่ต้องทำหนังสือแสดงเจตนา ระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ (ค่าทำ ศพ)

25 บำเหน็จค้ำประกัน ผู้รับบำนาญปกติ และหรือ ผู้รับบำนาญ พิเศษ เหตุทุพพลภาพ หรือ ผู้รับบำเหน็จรายเดือน อาจนำสิทธิใน บำเหน็จตกทอดไปเป็นหลักทรัพย์ในการ ประกันการกู้เงินกับสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กำหนดในกฎกระทรวง

26 การขอหนังสือรับรองสิทธิ
กรมบัญชีกลาง ส.คลังจังหวัด ออกหนังสือรับรองสิทธิ ผู้รับบำนาญ/บำเหน็จรายเดือน ไปส่วนราชการผู้เบิก ธนาคารพาณิชย์ เป็นหนี้แล้วเรา ยื่นกู้

27 หนังสือเวียน หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค /ว153 ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2558 เรื่อง การยื่นขอรับบำเหน็จบำนาญด้วย ตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์(Pensions’ Electronic Filing) เริ่มใช้ระบบ วันที่ 1 เมษายน 2559 สำหรับส่วนราชการที่เข้าสู่ ระบบเงินเดือนค่าจ้างจ่ายตรง (e payroll) แล้ว

28 วัตถุประสงค์ การนำฐานข้อมูลเงินเดือน ค่าจ้าง จ่ายตรงที่มีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จูงใจให้ส่วนราชการนำเข้าข้อมูลในโครงการจ่ายตรง เงินเดือนค่าจ้าง (รัฐมีฐานข้อมูลบุคลากรครบถ้วน สมบูรณ์) ลดขั้นตอน ลดภาระงาน ลดค่าใช้จ่าย (กระดาษ ค่าไปรษณีย์ OT.) ของส่วนราชการ เพิ่มช่องทางในการบริการ เป็นการอำนวยความ สะดวก สร้างความโปร่งใส ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน สอดคล้องกับ พรบ.การอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 สอดคล้องกับโครงการ e payment ของรัฐบาล

29 ระบบจ่ายตรงเงินเดือน
ค่าจ้างประจำ (e-Payroll) ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-Pension) ยื่นขอรับบำเหน็จบำนาญด้วยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Pensions’ Electronic Filing) แนวคิดกระบวนงาน 29

30 การยื่นขอรับบำเหน็จบำนาญด้วยตนเอง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Pensions’ Electronic Filing)
ประเภทเงิน เบี้ยหวัด ของทหารกองหนุน บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จดำรงชีพ ของข้าราชการ เงินก้อน กบข. สำหรับสมาชิก กบข. บำเหน็จ(เงินก้อน) หรือบำเหน็จรายเดือนของลูกจ้างประจำ สำหรับข้าราชการหรือลูกจ้างประจำที่พ้นจากราชการ กรณี ลาออก ให้ออก ปลดออก หรือเกษียณอายุ

31 เพียงท่านลงทะเบียนขอรหัสผ่าน เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
บันทึกรายการเพื่อขอรหัสผ่าน(username และ password) เลขบัตรประชาชน 13 หลัก ชื่อ สกุล วันเดือนปี เกิด(ตามฐานจ่ายตรงเงินเดือน ค่าจ้าง) เลขบัญชีเงินฝากธนาคาร (เล่มที่ใช้โอนเงินเดือน / ค่าจ้าง ในปัจจุบัน) เบอร์มือถือ

32 การขอรับบำเหน็จบำนาญด้วยตนเอง
4-5 ส่วนราชการ ผู้เบิกบำนาญ 6 ธนาคาร 1 ผู้มีสิทธิ Pensions’ Electronic Filing 2 ส่วนราชการสังกัดสุดท้าย 3 กรมบัญชีกลาง

33 หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 53 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2552 เรื่องขอรับและการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นใน ลักษณะเดียวกันผ่านระบบ บำเหน็จบำนาญ**กำหนดหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการผู้เบิกเป็นผู้ จัดส่งหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้ผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญโดยตรง กรมบัญชีกลางเพิ่ม ทางเลือก ให้ผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ สามารถพิมพ์ได้เองจาก ระบบ e - filing

34 การขอรับบำเหน็จบำนาญของข้าราชการ
ผ่านระบบ Pensions’ Electronic Filing ผู้ขอรับบำเหน็จบำนาญสามารถดำเนินการด้วยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ บำเหน็จ (เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลา) บำนาญ ตาม พรบ.2494 (เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลา หาร 50) บำนาญ กบข. (เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย x เวลา หาร 50) ไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย บำเหน็จดำรงชีพ (บำนาญ x 15 = ไม่เกินสี่แสนบาท) การยื่นเรื่องขอรับเงิน กบข. (เฉพาะสมาชิก กบข.) 1 2 ผ่านระบบ e pension 3 ผ่านระบบ e pension การยื่นเรื่องขอรับหนังสือรับรองสิทธิในบำเหน็จตกทอด เพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันการกู้เงิน บำนาญ + ชคบ. x 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพที่รับไปแล้ว บำเหน็จตกทอด ข้าราชการตาย = เงินเดือน x เวลา จ่ายให้แก่บิดามารดา คู่สมรส บุตร หรือบุคคลซึ่งผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้ ผู้รับบำนาญตาย = (บำนาญ+ ชคบ.) x 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพ หัก หนี้ในบำเหน็จค้ำประกัน (ถ้ามี)

35 เว็บไซต์กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt บำนาญยุคใหม่ หัวใจไม่ว้าวุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google