การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Advertisements

สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
วิจัย (Research) คือ อะไร
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติในด้านสังคมศาสตร์ (The Application of Statistical Package in Social Sciences) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ (Introduction.
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวัดและประเมินผลการศึกษา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
การทดสอบสมมติฐาน.
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา จังหวัดร้อยเอ็ด
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย วันดี ทับทิม หน่วยส่งเสริมการวิจัย งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

สถิติในการวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในสิ่งทีสนใจอย่างเป็นระบบ ซึ่งในการวิจัยจะใช้สถิติหา คุณภาพของเครื่องมือ และใช้ในการกำหนดขนาดของตัวอย่างให้เหมาะสมกับ ประชากร และสำหรับวิเคราะห์ข้อมูล แต่ก่อนทำการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น ผู้วิจัยจะต้องคำนึงถึง ข้อจำกัดของสถิติแต่ละตัว และ ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ** นักวิจัยต้องชัดเจนในวัตถุประสงค์ของการวิจัยว่างานวิจัยดังกล่าวต้องการอะไร **

สถิติเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย ประเภทของสถิติ 1. สถิติพรรณนา (Descriptive statistic) คือ สถิติที่ใช้สรุปบรรยายคุณสมบัติที่สำคัญของ ประชากร(Population) หรือตัวอย่าง(Sample) ของสิ่งที่ต้องการศึกษา เช่น เพศ อายุ ระดับ การศึกษา 2. สถิติวิเคราะห์ (Analytical statistic) คือ วิธีการทางสถิติที่ผู้วิจัยนำมาใช้เพื่อพิสูจน์หรือ ทดสอบสมมติฐาน และยืนยันเกี่ยวกับข้อค้นพบ เช่น สถิติ F-test (ANOVA) เพื่อดูความ แตกตางของระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรแต่ละตำแหน่ง

ตัวแปรในการวิจัย ในการวิจัยแบ่งตัวแปรออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ(Independent Variable) หมายถึง สิ่งที่ทำให้ตัวแปรอื่น (หรือที่เรียกว่าตัวแปรตาม) มีค่าเปลี่ยนแปลงไป เช่น ความพึงพอใจในงาน 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นชื่อเรียกตัวแปรใดๆ ก็ตามที่มีค่าผันแปรเนื่องมาจากอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ (ตัวแปรต้น) เช่น ความผูกพันต่อองค์กร

ประเภทของข้อมูล ประเภทของข้อมูลมีความสำคัญมาก สำหรับการนำข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติ เพราะสถิติ แต่ละตัวมีข้อจำกัดในการนำไปวิเคราะห์ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของข้อมูล ฉะนั้นผู้วิจัยจะต้องมี ความรู้ว่าข้อมูลแต่ละตัวอยู่ในประเภทใด เพื่อทีจะสามารถเลือกใช้สถิติได้อย่างถูกต้อง นามบัญญัติ (Nominal Scale) เรียงอันดับ (Ordinal Scale) อันตรภาค (Interval Scale) อัตราส่วน (Ratio Scale)

นามบัญญัติ (Nominal Scale) ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่แบ่งเป็นกลุ่ม เป็นประเภท ที่แยกออกจากกัน เช่น เพศ แบ่งเป็น ชาย, หญิง อาชีพ แบ่งเป็น ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ค้าขาย เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะใช้ สถิติง่าย ๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น บอกได้เพียงความแตกต่างระหว่างกลุ่ม จะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิติ เพราะไม่มีความหมาย

เรียงอันดับ (Ordinal Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่าง ๆ โดยเรียงอันดับของ ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ สอบลำดับของการประกวดสิ่งต่าง ๆ หรือความนิยมเป็นต้น ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้เช่นกัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

อันตรภาค (Interval Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่าง เท่ากันทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น ระดับ ทัศนคติ , ระดับความคิดเห็น โดยแปลความหมายจากแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติ ขั้นสูงทุกตัว

อัตราส่วน (Ratio Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมี ศูนย์แท้ เช่น น้ำหนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน, อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

ตัวอย่างประเภทของข้อมูล

ตัวอย่างประเภทของข้อมูล

ตัวอย่างประเภทของข้อมูล

การประมาณค่า (Estimate) การทดสอบสมติฐาน (Hypothesis test) ประชากร (Population) การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) ตัวอย่าง (Sample) สถิติพรรณนา สถิติพรรณนา ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) การประมาณค่า (Estimate) การทดสอบสมติฐาน (Hypothesis test) ค่าสถิติ  ค่าเฉลี่ย (Mean) X  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) S

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย การพิจารณาว่าจะใช้สถิติใดในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องพิจารณา องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับหลักการทางสถิติ 3 ประการดังนี้ 1. ลักษณะของตัวอย่างที่นำมาศึกษา ตัวอย่างที่นำมาศึกษานั้นได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างหรือไม่

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย 2. ประเภทของข้อมูล ลักษณะของข้อมูลที่วัดได้มี 4 ประเภท สถิติบางอย่างสามารถใช้ได้กับข้อมูลทุก ระดับ แต่บางอย่างใช้ได้กับข้อมูลบางระดับก่อนตัดสินใจว่าจะใช้สถิติใดในการ วิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยควรพิจารณาว่า ข้อมูลที่รวบรวมมาได้นั้นเป็นข้อมูลระดับใดเสียก่อน เพื่อจะ ได้เลือกใช้สถิติได้ถูกต้อง

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย 3. จุดมุ่งหมายของการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องพิจารณาว่าวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นมีกี่ตัวแปร มีจุดมุ่งหมายเพื่อ อธิบายลักษณะ ข้อเท็จจริงของตัวแปร หรือต้องการเปรียบเทียบ หรือ ต้องการ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต้องมีการทดสอบสมมุติฐานอะไรบ้าง จึงจะ สามารถเลือกใช้สถิติได้ถูกต้อง

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย สถิติพื้นฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของ ข้อมูล และใช้เป็น พื้นฐานในการ คำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป ซึ่งสถิติพื้นฐานได้แก่ 1.1 การแจกแจงความถี่ (frequency) 1.2 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ - ค่าเฉลี่ย (Mean) มัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) 1.3 การวัดการกระจาย ได้แก่ - พิสัย (Range) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) ความแปรปรวน (Variance)

สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน เป็นสถิติที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์เพื่อทดสอบ สมมติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ได้แก่ 1.1 การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ได้แก่ t-test F-test และ ไคสแควร์ (chi-square) 1.2 การหาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ได้แก่ การหาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (correlation) ไคสแควร์ (chi-square) 1.3 การพยากรณ์ (regression) ได้แก่ Linear regression, Logistic regression

…THANK YOU…