การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การทำ Normalization 14/11/61.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-4
การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ หน่วยที่ 5 การสร้างข้อสอบแบบเขียนตอบ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

ข้อสอบเขียนตอบ BLOOM (ปรับปรุงใหม่) การจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การ สร้างสรรค์ ข้อสอบเลือกตอบ

องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบแนวใหม่ สถานการณ์ โจทย์ข้อคำถาม คำตอบ

ตวช. บอกขั้นตอนในการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละขั้นตอน ครูสมศรีกลับมาจากไปเที่ยวต่างจังหวัดหลายวัน เข้าไปในห้องนั่งเล่นพบว่า เก้าอี้มีฝุ่นจับเยอะ โต๊ะมีแต่ฝุ่นผง พื้นห้องก็เต็มไปด้วยเศษดิน บนฝ้าเพดานก็มีแต่หยากไย่เต็มไปหมด วันนี้เป็นวันหยุดครูสมศรีจึงอยากจะทำความสะอาดห้องนั่งเล่น 1. สถานการณ์ 2. คำถาม ครูสมศรีควรเรียงลำดับสิ่งที่จะต้องทำความสะอาดตามข้อใด 3. คำตอบ เก้าอี้ โต๊ะ พื้นห้อง ฝ้าเพดาน โต๊ะ พื้นห้อง เก้าอี้ ฝ้าเพดาน พื้นห้อง เก้าอี้ โต๊ะ ฝ้าเพดาน ฝ้าเพดาน โต๊ะ เก้าอี้ พื้นห้อง

ตวช. อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละขั้นตอน 1. สถานการณ์ ครูสมศรีกลับมาจากไปเที่ยวต่างจังหวัดหลายวัน เข้าไปในห้องนั่งเล่นพบว่า เก้าอี้มีฝุ่นจับเยอะ โต๊ะมีแต่ฝุ่นผง พื้นห้องก็เต็มไปด้วยเศษดิน บนฝ้าเพดานก้อมีแต่หยากไย่เต็มไปหมด วันนี้เป็นวันหยุดครูสมศรีจึงอยากจะทำความสะอาดห้องนั่งเล่น 2. คำถาม ถ้าครูสมศรีจึงเริ่มทำความสะอาดเก้าอี้ด้วยไม้ปัดขนไก่ ตามด้วยใช้ผ้าเช็ดโต๊ะ และใช้ไม้กวาดทางมะพร้าวกวาดพื้น สุดท้ายใช้ไม้กวาดดอกหญ้าปัดหยากไย่บนเพดาน นักเรียนคิดว่าการทำความสะอาดห้องนั่งเล่นของครูสมศรีถูกต้องหรือไม่อย่างไร 3. คำตอบ ไม่ถูกต้อง 1)ครูสมศรีเรียงขั้นตอนการทำความสะอาดผิด ควรเริ่มจากทำความสะอาดฝ้าเพดาน ตามด้วยโต๊ะ เก้าอี้ และพื้น 2)ใช้อุปกรณ์ผิด ควรใช้ไม้กวาดดอกหญ้ากวาดพื้น และควรใช้ไม้กวาดหยากไย่ทำความสะอาดฝ้าเพดาน

รูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบในชั้นเรียน 1. แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item) 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์( 2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response or extended Response) เขียนตอบ

1.แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item: RR) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้คิดและเขียนคำตอบภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด และมีแนวของคำตอบที่ชัดเจน (ออกยาก แต่ตรวจง่าย)  

ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ภาพมีลักษณะเป็น 3 มิติ ……………………………………………………………………………………………...................................... แนวคำตอบ 1. น้ำหนักสี 2. ระยะของภาพ 3. แสงเงาในภาพ 2.

บริเวณบ้านหลังหนึ่งเป็นดังภาพ ข้อที่ 2: สถานการณ์ บริเวณบ้านหลังหนึ่งเป็นดังภาพ บ้าน เหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้ ต้นมะม่วง 1 3 4 สระน้ำ 2 ภาพแสดงบริเวณสวนรอบบ้าน คำถาม จากภาพ ถ้าต้องการปลูกพืชที่ต้องการแสงแดดมากในตอนเช้า จะต้องเลือกปลูกบริเวณหมายเลขใด

ปริมาณแสงที่พืชต้องการ ข้อที่ 2: สถานการณ์ เด็กหญิงคนหนึ่งต้องการปลูกพืชบริเวณสวนรอบบ้าน ดังภาพ จึงศึกษาข้อมูลปริมาณแสงที่พืช 4 ชนิด ต้องการ ดังตาราง บ้าน เหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้ ต้นมะม่วง 1 3 4 สระน้ำ 2 ภาพแสดงบริเวณสวนรอบบ้าน แสงแดดจัดในตอนบ่าย เฟี่องฟ้า แสงแดดรำไรตลอดวัน เฟิร์น แสงแดดจัดในตอนเช้า เข็ม แสงแดดจัดตลอดวัน กุหลาบ ปริมาณแสงที่พืชต้องการ ชนิดของพืช ตารางแสดงปริมาณแสงที่พืชต้องการ คำถาม จงเลือกตำแหน่งในการปลูกพืชในแต่ละชนิด

โจทย์ ถ้าเขาต้องการทดสอบความคิดของเขา ที่ว่าถ้าวางรางให้สูงขึ้นรถจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นไม่ เขาจะต้องเปรียบเทียบการทดลองสามครั้งใด ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA

สถานการณ์ กระป๋องรดน้ำต้นไม้มีน้ำอยู่ ดังภาพ คำถาม หากเอียงกระป๋องจนทำให้น้ำเริ่มไหลออกทางปากกระป๋องแล้ว ระดับน้ำในกระป๋องจะเป็นอย่างไร ให้นักเรียนวาดเส้นแสดงระดับน้ำลงในภาพข้างล่างนี้ ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบ TIMSS, Grade 4 ตัวชี้วัด: ว 6.1 ป.3/1

โจทย์ จากภาพชุมชนหนู งู และต้นข้าว จะเกิดอะไรขึ้นกับชุมชนนี้ ถ้างูถูกคนฆ่าจนหมดไป ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA

คำถาม ลูกของนายสิงห์จะเรียกน้ารามกับคุณน้อง ว่าอย่างไร พี่ น้อง พ่อ หนูนา + นายสิงห์ คุณน้อง + น้าราม คำถาม ลูกของนายสิงห์จะเรียกน้ารามกับคุณน้อง ว่าอย่างไร ลูกสาว

ตอบคำตอบถูกจะได้คะแนน การตรวจให้คะแนนข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ แบบตอบสั้น (Restricted Response) แนวคำตอบ เกณฑ์การให้คะแนน ชัดเจน มีขอบเขตจำกัด ตอบคำตอบถูกจะได้คะแนน

2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response or extended Response: UR) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้อิสระในการคิด โดยเปิดโอกาสให้คิดและเขียนภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ต้องมีประเด็นหรือเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนที่ชัดเจนครอบคลุม (ออกง่าย แต่ตรวจยาก)  

โจทย์ จงเปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ 2 ชิ้นต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ พฤติกรรมที่ระบุ ในตัวชี้วัด ประเด็นในการตรวจ คำตอบถูกตอบ เหตุผลชัดเจนสอดคล้องและเหมาะสม

สถานการณ์ สังเกตท้องฟ้าเวลากลางคืน พบดาวเหนือบนท้องฟ้า ดังภาพ ถ้าต้องการปลูกต้นไม้ที่ต้องการแสงแดดจัดในช่วงบ่าย โดยเลือกปลูกพืชในบริเวณ B นักเรียนคิดว่าเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด คำถาม ประเด็นในการตรวจให้คะแนน 1. คำตอบ (เหมาะสม/ไม่เหมาะสม) 2. เหตุผลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ

การเจริญเติบโตของพืช สถานการณ์ ทดลองปลูกพืชชนิดหนึ่งในดิน 4 ชนิด นาน 4 สัปดาห์ สังเกตการเจริญเติบโตของพืชได้ดังนี้ ชนิดของดิน การเจริญเติบโตของพืช ส่วนสูง (เซนติเมตร) จำนวนใบ (ใบ) สีของใบ ชนิดที่ 1 67 14 สีเขียว ชนิดที่ 2 21 4 สีน้ำตาล ชนิดที่ 3 94 ชนิดที่ 4 63 9 สีเขียวอมเหลือง คำถาม ดินชนิดใดมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชชนิดนี้มากที่สุด เพราะเหตุใด

พิจารณาเกณฑ์การประเมิน(Rubrics) ของ ประเด็นในการตรวจให้คะแนน การตรวจให้คะแนนข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ แบบขยายคำตอบ (Extended Response) แนวคำตอบ เกณฑ์การให้คะแนน แตกต่างกันตามความคิดและเหตุผลของผู้ตอบแต่ละคน พิจารณาเกณฑ์การประเมิน(Rubrics) ของ ประเด็นในการตรวจให้คะแนน

หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย 1. เขียนคำชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการตอบให้ชัดเจน ระบุจำนวนข้อคำถาม เวลาที่ใช้สอบและคะแนนเต็มของแต่ละข้อ เพื่อให้ผู้ตอบสามารถวางแผนการตอบได้ถูกต้อง 2. ข้อคำถามต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ตอบ 3. ควรถามเฉพาะเรื่องที่สำคัญและเป็นเรื่องที่แบบทดสอบปรนัยวัดได้ไม่ดีเท่า เนื่องจากไม่สามารถถามได้ทุกเนื้อหาที่เรียน ควรถามเกี่ยวกับการนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น 4. สถานการณ์ในข้อคำถามจะต้องมีข้อมูลเพียงพอและจำเป็นต่อการตอบคำถาม รวมทั้งมีความชัดเจน และเหมาะสมกับระดับผู้เรียน

หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย (ต่อ) 5. ข้อคำถามต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ มีความชัดเจน และสอดคล้องกับตัวชี้วัด และพฤติกรรมที่ต้องการวัด 6. ข้อคำถามต้องเปิดโอกาสให้อธิบายวิธีคิด แสดงวิธีทำ หรือให้เหตุผลเพื่อสนับสนุนคำตอบ 7. กำหนดขอบเขตหรือประเด็นของคำถามให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้ตอบทราบถึงจุดมุ่งหมายในการวัด สามารถตอบได้ตรงประเด็น 8. ไม่ควรมีข้อสอบไว้ให้เลือกตอบเป็นบางข้อ เพราะอาจมีการได้เปรียบเสียเปรียบกัน เนื่องจากแต่ละข้อคำถามจะมีความยากง่ายไม่เท่ากันและวัดเนื้อหาแตกต่างกัน รวมทั้งจะไม่ยุติธรรมกับผู้ที่สามารถตอบได้ทุกข้อ ซึ่งมีโอกาสได้คะแนนเท่ากับผู้ที่ตอบได้เพียงบางข้อ

หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย (ต่อ) 9. พยายามเขียนคำถามให้มีจำนวนมากข้อ โดยจำกัดให้ตอบสั้น ๆ เพื่อจะได้วัดได้ครอบคลุมเนื้อหา ซึ่งจะทำให้แบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูง 10. ควรเตรียมเฉลยคำตอบและกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตามขั้นตอนและน้ำหนักที่ต้องการเน้นไว้ด้วย 11. ถ้าแบบทดสอบมีหลายข้อ ควรเรียงลำดับจากข้อง่ายไปหายาก 12. การกำหนดเวลาในการสอบ จะต้องสอดคล้องกับความยาวและลักษณะคำตอบที่ต้องการ ระดับความยากง่ายและจำนวนข้อสอบ

ลักษณะความคลาดเคลื่อน ในการตรวจข้อสอบอัตนัยที่มาจากผู้ตรวจหรือผู้ประเมิน 1. Halo Error: รู้จักมักคุ้น 2. Leniency Error: มองโลกในแง่ดี (เกินไป) 3. Horns Error: มองโลกในแง่ร้าย (เกินไป) 4. Central Tendency Error: ยึดทางสายกลาง (ไว้ก่อน) 5. Modeling Error: ผลสัมพัทธ์ข้างเคียง 6. Contrast Error: ขัดแย้งในใจ 6.1 Under Qualification Error: ให้ต่ำกว่าความจริง 6.2 Over Qualification Error: ให้สูงกว่าความจริง