HIV Testing and Counseling with Same Day Result (SDR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
Seminar 1-3.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายเทคนิคการแพทย์ เขต ๑ เสาวรินทร์ มีชูทรัพย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิค.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
การติดตาม (Monitoring)
Supply Chain Management
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HIV Testing and Counseling with Same Day Result (SDR) Somboon Nookhai HIV Technical Support, GAP/US CDC Southeast Asia Regional office 26 June 2013 Asia Airport Hotel Center for Global Health Place Descriptor Here

การเข้าถึงระบบบริการป้องกันและดูแล รักษา อย่างมีประสิทธิภาพ ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ลดอัตราเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี เข้าถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการติดเชื้อ BCC KP (MSM, TG, SW, IDU, etc.) ผู้ป่วย TB / STI การคงได้รับยาต้านฯ ต่อเนื่อง และสามารถควบคุมปริมาณไวรัสได้ในระดับต่ำ ART การติดตามและดูแลก่อนได้รับยาต้านฯ Pre-ART การได้รับคำปรึกษาวินิจฉัยการติดเชื้อ HCT HIV exposed infants การส่งต่อเข้ารับบริการดูแลรักษา การส่งต่อเข้ารับบริการยาต้านฯ Partners การเข้าถึงระบบบริการป้องกันและดูแล รักษา อย่างมีประสิทธิภาพ

เราจะไปถึง จุดหมาย AIDS Zero ได้อย่างไร รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง การตรวจเอดส์และได้ทราบผลการตรวจเป็นสิ่งที่จะทำให้เราไปถึงเป้าหมาย No HIV testing ไม่รู้สถานะ HIV ของตัวเอง  ถ่ายทอดเชื้อต่อไปโดยไม่รู้ (New Infections) รอจนป่วยค่อยตรวจเลือด (AIDS-related Deaths)

การตรวจเอชไอวีแบบฟังผลวันเดียวคืออะไร เป็นการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีที่สามารถให้ผลการตรวจได้และบอกผลการตรวจให้แก่ผู้มารับบริการได้ภายในวันเดียว Total Around time ในส่วนของผลการตรวจไม่ควรเกิน 1 ½ ชั่วโมงเนื่องจากผู้รับบริการสามารถรอฟังผลได้ และคงให้ผลแม่นยำ ผลการตรวจต้องเป็นผลการตรวจที่ยืนยันแล้วตามแนวทางที่กระทรวงได้แนะนำ ดำเนินการตรวจหรือควบคุมโดยมีบุคคลากรทางห้องปฏิบัติการและดูแลด้านคุณภาพของผลการตรวจ

ข้อดีของ SDR (ผู้รับบริการ) ลดระยะเวลาวิตกกังวลเกี่ยวกับผลเลือด การคาดเดาผลที่ไม่ตรงกับผลจริง และพฤติกรรมเสี่ยงช่วงระหว่างการรอผลการตรวจเลือด ได้รับการช่วยเหลือ ดูแลต่อจากผู้ให้การปรึกษาในทันที เมื่อรับทราบผลการตรวจไม่ว่ากรณีผลลบหรือผลบวก เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการรักษาได้ทันทีในกรณีผลเลือดบวก รับบริการปรึกษาก่อนและหลังการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี (pre and post test counseling) จากผู้ให้การปรึกษาคนเดิมได้ทุกคน เพื่อเพิ่มแรงจูงใจให้ผู้รับบริการต้องการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีเนื่องจากสามารถทราบผลในทันทีไม่ต้องรอกลับมาฟังผลใหม่ ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทางของผู้รับบริการ

ข้อจำกัดของ SDR (ผู้รับบริการ) ผู้มารับบริการอาจจะไม่มีเวลาเตรียมตัวเตรียมใจสำหรับผลเลือดบวก แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ควรพิจารณาตรวจเลือด หากผู้มารับบริการมีแนวโน้มไม่พร้อมในการรับฟังผลเลือด

ข้อดีของ SDR (ผู้ให้บริการ) สามารถตรวจได้ ณ จุดที่ให้บริการ ลดเวลา และ ขั้นตอนของการส่งต่อเพื่อตรวจ สามารถดูแลผู้มารับบริการได้เบ็ดเสร็จในครั้งเดียว ลดจำนวนทีมผู้ให้บริการ ถ้าผู้ให้การปรึกษาเป็นผู้ตรวจเลือดได้เอง กระบวนการให้การปรึกษาง่ายและสะดวกเนื่องจากผู้ให้การปรึกษาเป็นคนเดียวทั้งก่อนและหลังการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี เช่น ข้อมูลผู้รับบริการจากการประเมินปัจจัยเสี่ยงต่างๆ

ข้อจำกัดของ SDR (ผู้ให้บริการ) ผู้ให้การปรึกษาที่ยังไม่มีประสบการณ์อาจมีความกังวลในการแจ้งผลเลือด โดยเฉพาะในกรณีผลเลือดบวก ผู้ให้การปรึกษามีความกังวลใจ หรือไม่เชื่อมั่นเรื่องความถูกต้องเที่ยงตรงของผลตรวจ ภาระงานของผู้ให้การปรึกษา หากมีผู้รับบริการหลายคน และผลเลือดเป็นบวกหลายคน อาจส่งผลให้เกิดความเครียด ซึ่งควรเพิ่มช่วงเวลาและให้ความสำคัญในการให้การปรึกษาก่อนตรวจเลือดมากขึ้น

ตารางเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย

ต้องทำ SDR กับทุกกลุ่มประชากรหรือไม่ ถ้าทำได้ เป็นสิ่งที่ดีที่สุด ถ้าทำไม่ได้ กลุ่มที่เป็นเป้าหมายคือ กลุ่มที่มีแนวโน้มไม่กลับมาฟังผลการตรวจสูง กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มหญิงบริการ กลุ่มใช้ยาฉีดเข้าเส้น (Intravenous drug use) แรงงานย้ายถิ่น กลุ่มที่ให้การปรึกษาแบบเป็นคู่

รูปแบบการดำเนินงาน ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลเป็นผู้ทำการตรวจหาการติดเชื้อให้ ณ ห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลส่งเจ้าหน้าที่ไปช่วยตรวจให้ตามเวลาที่คลีนิคให้คำปรึกษาเปิดทำการ เจ้าหน้าที่คลีนิคเป็นผู้ตรวจหาการติดเชื้อเอง โดยมีเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการเป็นที่ปรึกษาและควบคุมด้านคุณภาพ

ห้องปฏิบัติการเป็นผู้ดำเนินการตรวจเอง ชุดตรวจที่ใช้อาจเหมือน หรือ แตกต่างจากงานประจำ กำหนดแนวทางการทำงาน ช่วงเวลาในการทำงาน กับคลีนิคให้คำปรึกษาให้ชัดเจน กำหนดแนวทางการรับตัวอย่างและส่งผลการตรวจกับคลีนิคให้คำปรึกษา วางแผนการควบคุมและประกันคุณภาพ การติดตามและประเมินผล กำหนดแนวทางในการแก้ไขหากเกิดปัญหา

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการไปช่วยตรวจที่คลีนิก ให้คำแนะนำคลีนิกเรื่องการเลือกชุดตรวจและตรวจสอบคุณสมบัติชุดตรวจ ให้คำแนะนะเรื่องจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่จำเป็นต่อการตรวจ แนะนำการจัดเตรียมสถานที่ และดูแลเรื่องความปลอดภัย กำหนดแนวทางการทำงาน ช่วงเวลาในการทำงาน เพื่อการจัดเตรียมกำลังคน วางแผนการควบคุมและประกันคุณภาพ การติดตามและประเมินผล กำหนดแนวทางในการแก้ไขหากเกิดปัญหา

เจ้าหน้าที่คลีนิกเป็นผู้ทำการตรวจเอง ให้คำแนะนำคลีนิกเรื่องการเลือกชุดตรวจและตรวจสอบคุณสมบัติชุดตรวจ ให้คำแนะนะเรื่องจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่จำเป็นต่อการตรวจ แนะนำการจัดเตรียมสถานที่ และดูแลเรื่องความปลอดภัย อบรมเจ้าหน้าที่คลีนิคเรื่องการตรวจ และการแปลผลการตรวจ เป็นพี่เลี้ยงให้กับเจ้าหน้าที่เรื่องการตรวจ และการแปลผล วางแผนการควบคุมและประกันคุณภาพ การติดตามและประเมินผล กำหนดแนวทางในการแก้ไขหากเกิดปัญหา