นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
Advertisements

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
Service Plan in Kidney Disease
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
นโยบายเร่งด่วน ของ ผบ.ตร.
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ นายแพทย์อัษฏางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ระหว่างวันที่ 19 -20 ต.ค. 58 ณ รร.มิราเคิล แกรนด์ กทม.

การดำเนินงาน ลดโรคไตเรื้อรัง (CKD) / คลินิก NCD คุณภาพ

กรอบแนวคิดรูปแบบการดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง ความชุกของโรคไตเรื้อรังตั้งแต่ระยะที่ 3 ขึ้นไป มีประมาณร้อยละ 2.9-13 โดยผู้ป่วย DM HT มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรังตั้งแต่ระยะที่สามขึ้นไปประมาณ 1.9 และ 1.6 เท่าตามลำดับ งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว (Capitation) โดยในปีงบประมาณ 2558 สูงถึง 5,247ล้านบาท กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มประชากรทั่วไป การส่งเสริมสุขภาพ Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention ได้รับการตรวจวินิจฉัย ชะลอความเสื่อมของไต DM HT eGFR >60 ml/min ได้รับการดูแลตามมาตรฐานการบริการ ตามระยะของโรค ป้องกันและป้องกันความเสี่ยง CM /CKD Clinic nurse ทีมสหวิชาชีพ อายุรแพทย์โรคไต อายุรแพทย์ eGFR 59-30ml/min eGFR 29-15ml/min eGFR <15ml/min Dialysis RRT คัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อ CDK เฝ้าระวัง ติดตามและการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค การสร้างความตระหนักในประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยงและการจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน การให้คำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การพัฒนาคุณภาพการบริการ การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง - การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ได้รับคำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

คลินิก NCD คุณภาพ เครือข่ายของคลินิก/คลินิก/ศูนย์ในสถานบริการ ที่เชื่อมโยงในการบริหารจัดการและดำเนินการทางคลินิก ให้เกิดกระบวนการป้องกัน ควบคุม และดูแลจัดการ โรคเรื้อรังแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 1 ทิศทางและนโยบาย 2 ระบบสารสนเทศ 3 การปรับระบบและกระบวนการบริการ 4 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 5 ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง 6 จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน ผู้มารับบริการสามารถควบคุม ป้องกันปัจจัยเสี่ยงร่วม/โอกาสเสี่ยงได้หรือดีขึ้น กลุ่มป่วยสามารถควบคุมสภาวะของโรคได้ตามค่าเป้าหมาย (controllable) ลดภาวะแทรกซ้อนของระบบหลอดเลือด ลดการนอนโรงพยาบาลโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า ลดอัตราการเสียชีวิตที่สัมพันธ์โดยตรงจากโรคเรื้อรังในช่วงอายุ 30 - 70 ปี

การขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ 2556 -ทดลองเครื่องมือเชิงปริมาณ 2557 -เริ่มกระบวนการคุณภาพบริการ ในสถานพยาบาล - ประเมินรับรองA/S/M ทุกแห่ง + ร้อยละ 30 F (407 รพ, บางจังหวัด ขอเก็บ รพช < 30%) 2558 -เพิ่ม “บูรณาการจัดการตนเอง” - ประเมินรับรอง รพ ที่ยังไม่ผ่านปี 57 + ร้อยละ 40 F จำนวน รพ. A=33, S=48, M1=91, M2=35, F1-F3=780 (ปี 2557) 2560 ขยับ มาตรฐานการเพิ่มคุณภาพบริการ 2559 -เพิ่ม “บูรณาการ CVD & CKD” -เพิ่มคุณภาพในส่วนของการดูแลในชุมชน (รพ.สต) - ประเมินรับรอง รพ. ที่ไม่ผ่านเมื่อ 58 + ร้อยละ 30 F ผลปี 2558 : รพ.เป้าหมาย 324 แห่ง ผ่านการประเมินรับรอง 311 แห่ง(96.3%)

การดำเนินงานเพื่อลดอัตราการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน Road Traffic Injury

เปรียบเทียบสถานการณ์และเป้าหมาย ลดอัตราการเสียชีวิตลง 50% ภายในปี 2554-63 26,312 (41.00) 23,390 (36.44) 22,841 (35.54) 24,237 (37.71) เส้นคาดการณ์ หากข้อมูลบันทึกถูกต้องมากขึ้น 13,156 (19.05) 11,659 (18.22) 14,033 (21.96) 13,211 (20.43) ตั้งเป้าหมายปี 2563 จะลด 50% จากปี 54 แต่ดำเนินการแล้ว 3 ปี อัตราตายยังใกล้เคียงเดิม เหลือเวลาปฏิบัติงาน 7 ปี = 50% / 7 = 7% ต่อปี เป้าหมายในปี 57 คือ ลดให้ได้ 7% จาก baseline (Median ปี 53-55) ฐานมรณบัตร = 21.96 >> 11.20 ต่อแสน คิดเป็นลดปีละ 1.6 ต่อแสน (7%) = 900 คนต่อปี = 12 คนต่อจังหวัดต่อปี = 1 คนต่อเดือนต่อจังหวัด ฐาน บุรณาการ = 35.36 >> 17.98 ต่อแสน คิดเป็นลดปีละ 2.5 ต่อแสน (7%) = 1,500 คนต่อปี = 19 คนต่อจังหวัดต่อปี = 1.6 คนต่อเดือนต่อจังหวัด เมื่อมีการทำงานด้านข้อมูลอุบัติเหตุที่เข้มข้นมากขึ้น ส่งผลให้ข้อมูลผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนจึงถูกบันทึกถูกต้องเพิ่มขึ้น แนวโน้มจึงมีโอกาสสูงขึ้นได้ในช่วงแรกๆขยับเข้าใกล้ข้อมูลจริงมากขึ้น ดังนั้น หากตั้งเป้าหมายตัวชี้วัดตามแนวทางเดิม คือลดลงเหลือไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร อาจจะมีความคลาดเคลื่อนได้มาก เสนอให้ตั้ง ค่าเป้าหมายเท่ากับปี 2557 คือ 20 ต่อแสนประชากร 11,211 (18.43) 7,226 (10.98) ควรลดลง เฉลี่ยอย่างน้อย ร้อยละ 7 ต่อปี

สรุปการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ปีงบประมาณ 2558 สรุปการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ปีงบประมาณ 2558  อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เป้าหมาย : ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (V01-V89) รอบ 9 เดือน รายเขตสุขภาพ (ตุลาคม – มิถุนายน ปีงบประมาณ 57 และ 58) ภาพรวมลดลง 1.59 ต่อประชากรแสนคน 15.57 13.98 แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 2 สิงหาคม 2558 (อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้) หมายเหตุ: ข้อมูลมรณะบัตร ปี 2557 และ 2558 เป็นช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งยังไม่ได้นำไปตรวจสอบกับหนังสือรับรองการตายจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

เป้าหมายการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 59 กระทรวงสาธารณสุข : ลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนน ร้อยละ 21 จาก baseline เดิม ปี 53-55 ไม่เกิน 16 ต่อประชาการแสนคน เขต/สคร เป้าหมายลดจาก baseline Median 53-55 ปี 58 ลด 14% ปี 59 ลด 21% 1 1362 1171 1076 7 862 741 681 2 888 764 702 8 722 620 570 3 773 665 611 9 1393 1198 1100 4 994 855 785 10 850 731 672 5 1465 1259 1157 11 1364 1173 1077 6 1828 1572 1444 12 1126 968 889 13 194 167 153

การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 2559 ปี 2556 มีคนไทยตายเกือบ 23,000 คน (คิดเป็นอัตราตาย 38 ต่อประชากรแสนคน) บาดเจ็บสาหัสกว่า 200,000 ราย บาดเจ็บเล็กน้อยอีก 1,050,088 ราย ผลกระทบต่อความสูญเสียของประเทศปีละ 2 แสนกว่าล้านบาท ส่วนกลาง DHS/DC ส่วนกลาง พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ มาตรการจัดการข้อมูล ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา สคร. 80% อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ 24 จังหวัด มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง Quick Win : ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) จัดตั้ง EOC ช่วงเทศกาล มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย

การเตรียมพร้อมเทศกาลปีใหม่ 2559 “สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ 2559” วันที่ 29 ธ.ค. 58 - 4 ม.ค. 59

ผลการดำเนินงานด่านชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 58 การดำเนินงานด่านชุมชน “สงกรานต์ 58” รายการ จำนวน สคร. 1,2,5,6,9,10,11,12 7 แห่ง จังหวัด (ไม่ทุกอำเภอ) 10 จังหวัด อำเภอ (ไม่ทุกหมู่บ้าน) 22 อำเภอ จำนวนด่านชุมชน 206 ด่าน จำนวนคนปฎิบัติงานในด่าน 904 คน จำนวนรถที่ผ่านด่านทั้งหมด 2,162,236 คัน ผลการดำเนินงานด่านชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 58 รายการ ปี 2558 ปี 2557 เพิ่ม/ลด บาดเจ็บ 121 674 553 (82%) เสียชีวิต 5 5 (100%) Admitted 6 26 20 (77%)

ขอบคุณครับ