ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

การเปรียบเทียบคุณศัพท์ ในขั้นต่างๆ
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า “ ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
เสียงวรรณยุกต์ ลักษณะของเสียงดนตรีหรือเสียงวรรณยุกต์
พุทธศาสนสุภาษิต.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
(Thailand Vowels Transcribing)
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การศึกษาประเภทเสียงและความหมายของคำในกลุ่มภาษาต่างประเทศ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจทางการเมือง
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วาระที่ 3.1 ผลเบิกจ่ายงบลงทุน
เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
การสร้างคำ ภาษาไทย ภาษาบาลีสันสกฤต การซ้อนคำ วิธีกฤต การซ้ำคำ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ศาสนาเชน Jainism.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ นางบุษบา โหระวงศ์ โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม
ธุรกิจแฟรนไชส์. ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไซส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้จะครอบคลุมระบบเกือบทั้งหมด.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
วิชา การเขียนในงานอาชีพ ( )
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย THH 3106 ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย

ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย THH 3106 ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย คำ การสร้างคำ การประกอบศัพท์ ประโยคและการสร้างประโยค

ลักษณะคำภาษาไทย คำแต่ละคำสร้างขึ้นมาสำเร็จรูป พร้อมใช้ในภาษาได้ทันที THH 3106 ลักษณะคำภาษาไทย คำแต่ละคำสร้างขึ้นมาสำเร็จรูป พร้อมใช้ในภาษาได้ทันที คำไทยไม่มีเครื่องหมายบอกว่าเป็นคำชนิดใด คำไทยไม่มีเครื่องหมายบอกหน้าที่ของคำในประโยค คำไทยไม่มีเครื่องหมาย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำ เพื่อบอกเพศ พจน์ กาล หรือบุรุษของแต่ละคำ

ลักษณะคำของภาษาบาลีสันสกฤต THH 3106 ลักษณะคำของภาษาบาลีสันสกฤต คำที่เรียกว่าศัพท์และนับเป็นศัพท์อันมีมาดั้งเดิม สร้างมาจาก “ธาตุ” ต้องประกอบปัจจัยก่อนจึงจะใช้ในภาษาได้

ลักษณะคำของภาษาบาลีสันสกฤต THH 3106 ลักษณะคำของภาษาบาลีสันสกฤต ธาตุที่ประกอบด้วยปัจจัย จะกลายเป็นศัพท์ ซึ่งอาจเป็นนามศัพท์หรือกริยาศัพท์ ศัพท์ แม้จะมีเครื่องหมายบอกชนิดของคำ ต้องประกอบวิภัตติปัจจัยเพื่อแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างคำ เพศ พจน์ การก ศัพท์ที่แจกวิภัตติแล้วเรียกว่า “บท” ถือเป็นศัพท์สมบูรณ์ใช้ในภาษาได้

ลักษณะของธาตุ (root) ธาตุของภาษาบาลีสันสกฤต ถือเป็นรากศัพท์ THH 3106 ลักษณะของธาตุ (root) ธาตุของภาษาบาลีสันสกฤต ถือเป็นรากศัพท์ ธาตุแต่ละตัวจะมีความหมาย แต่ยังนำมาใช้ไม่ได้ ต้องตกแต่งโดยประกอบปัจจัยก่อน ธาตุ + ปัจจัย = ศัพท์ (นามศัพท์ หรือ กริยาศัพท์) ศัพท์ + วิภัตติ = บท (เข้าความได้)

THH 3106 ลักษณะของธาตุ (root) ธาตุแต่ละตัวมีพยางค์เดียว และพยัญชนะต้นธาตุส่วนใหญ่เป็นพยัญชนะเดี่ยว ตัวที่ตามมาถือเป็นพยัญชนะท้ายธาตุ ไม่ออกเสียง จึงใช้เครื่องหมายพินทุ (ภาษาสันสกฤตจะใช้เครื่องหมายวิรามห้ามเสียง) เช่น วิศฺ (เข้า) ลภฺ (ได้) วิทฺ (รู้) ธาตุที่มีพยัญชนะคู่เป็นพยัญชนะต้น เช่น ศฺรุ (ส. ฟัง)

THH 3106 ลักษณะของธาตุ (root) ธาตุที่ไม่มีตัวสะกด เช่น สี (นอน) สุ (ฟัง) ภู (เป็น อยู่) กฤ (ทำ) มฤ (ตาย) เมื่อลงปัจจัยจะทำให้สระของธาตุกลายเป็นพยัญชนะอัทธสระเสียก่อน คือ อี เป็น ย เช่น สี เป็น สยฺ , นี เป็น นยฺ , ชิ เป็น ชยฺ อุ เป็น ว เช่น ภู เป็น ภวฺ ฤ เป็น ร เช่น กฤ เป็น กร. มฤ (ตาย) เป็น มร.

ลักษณะของธาตุ (root) จากนั้นจึงจะประกอบปัจจัยท้ายธาตุ เช่น THH 3106 ลักษณะของธาตุ (root) จากนั้นจึงจะประกอบปัจจัยท้ายธาตุ เช่น สี (นอน) ลงยุ ปัจจัยในความว่า การ ความ เครื่อง ของ ที่ การปรับปรุง ยุ ปัจจัยต้องแปลงยุ เป็น อน ก่อน สี – สยฺ + ยุ (อน) = สยน (ที่นอน, การนอน) สุ – สวฺ + ยุ (อน) = สวน (การฟัง, เครื่องฟัง, หู) กฤ – กร. + ยุ (อน) = กรณ (การกระทำ) มฤ – มรฺ + ยุ (อน) = มรณ (ความตาย)

THH 3106 ปัจจัย (Suffix) ปัจจัย คือ ส่วนที่ประกอบเข้าข้างท้ายธาตุ หรือศัพท์ ก็ได้ ปัจจัยประกอบท้ายธาตุ ย่อมทำให้ธาตุเป็นศัพท์ อาจเป็นนามศัพท์หรือกริยาศัพท์ ปัจจัยประกอบท้ายศัพท์ ย่อมทำให้ศัพท์นั้นมีความหมาย ต่างไปตามวิธีตัทธิต

ปัจจัย (Suffix) ปัจจัยแบ่งเป็น 2 ชนิด THH 3106 ปัจจัย (Suffix) ปัจจัยแบ่งเป็น 2 ชนิด ปัจจัยกฤต / กิตก์ (primary suffixes) ปัจจัยตัทธิต (secondary suffixes)

ลักษณะของปัจจัย (Suffix) THH 3106 ลักษณะของปัจจัย (Suffix) ปัจจัยแต่ละปัจจัยมีความหมายกำหนดไว้แน่นอน เช่น กฺวิ ปัจจัย แปลว่า ผู้ , ต ปัจจัย แปลว่า แล้ว ปัจจัยมีความหมายบอกชนิดของคำไว้ด้วย เช่น ถ้าประกอบ กฺวิ ปัจจัย ย่อมทำให้เป็น นามศัพท์ ถ้าประกอบ ต ปัจจัย ย่อมทำให้เป็น กริยาศัพท์

ลักษณะของปัจจัย (Suffix) THH 3106 ลักษณะของปัจจัย (Suffix) ปัจจัยแห่งตัทธิต ยังมีความหมายหลายประการ อาจทำให้ศัพท์นั้นแสดงว่าเป็นเหล่ากอ แสดงภาวะความเป็น แสดงความมี แสดงหมวดหมู่ แสดงขั้นต่าง ๆ ของคุณศัพท์ ฯลฯ ปัจจัยมีพยางค์เดียวเป็นส่วนใหญ่ เช่น ณ ณี ยุ ต ติ ปัจจัยสองพยางค์ เช่น ณวุ เณยฺย เณร วนฺตุ

ลักษณะของปัจจัย (Suffix) THH 3106 ลักษณะของปัจจัย (Suffix) ปัจจัยบางพวกต้องมีการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงที่ตัวปัจจัย เช่น ลบปัจจัย เช่น - กฺวิ , -ข ลบบางส่วนของปัจจัย เช่น -ณ -ณี -เณยฺย -เณร ลบ ณ เหลือ -อะ -อี -เอยฺย -เอร , -รู ลบ ร เหลือ อู แปลงรูปปัจจัย เช่น -ยุ อน , -ณฺวุ อก , -ตฺวา ย (เมื่อมีอุปสรรคประกอบหน้าธาตุ)

ลักษณะของปัจจัย (Suffix) THH 3106 ลักษณะของปัจจัย (Suffix) เปลี่ยนแปลงที่ตัวธาตุหรือศัพท์ เช่น ลบสระ หรือพยัญชนะท้ายธาตุ เช่น -ต, -กฺวิ แทรกสระ อิ ท้ายธาตุ เช่น -ต, -ตฺวา, -ตฺวาน, -ติ เปลี่ยนแปลงสระต้นธาตุด้วยวิธีเพิ่มกำลังให้สระ คือ อะ  อา อิ  เอ ไอ อุ  โอ เอา

ลักษณะของปัจจัย (Suffix) THH 3106 ลักษณะของปัจจัย (Suffix) ปัจจัยบางพวกประกอบท้ายธาตุหรือท้ายศัพท์ได้ทันที เช่น ตฺร ปัจจัย ในความว่า เครื่องใช้ เช่น มา ธาตุในความว่า นับ วัด + ตฺร เป็น มาตร (เครื่องวัด)