งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชา การเขียนในงานอาชีพ ( )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชา การเขียนในงานอาชีพ ( )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชา การเขียนในงานอาชีพ ( 20001105)
วิชา การเขียนในงานอาชีพ ( ) ครูศิริวรรณ ศิริสวัสดิ์ ตำแหน่ง ครู คศ 1 ประจำแผนกสามัญสัมพันธ์ วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2 หน่วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการเขียน
1. ความสำคัญของการเขียน 1.1 ใช้ในการสื่อสาร 1.2 แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก 1.3 วัดความเจริญ 1.4 ถ่ายทอดมรดกด้านสติปัญญา 1.5 เป็นบันทึกทางสังคม 1.6 เป็นอาชีพ

3 2. จุดมุ่งหมายในการเขียน
2.1 เล่าเรื่อง 2.2 อธิบาย 2.3 แสดงความคิดเห็น 2.4 จูงใจ

4 2. จุดมุ่งหมายในการเขียน
2.5 สร้างจินตนาการ 2.6 ล้อเลียนและเสียดสี 2.7 ประกาศ แจ้งความ เชิญชวน

5 3. การเขียนที่มีประสิทธิภาพ
3.1 การะบวนการเขียน 3.1.1 เลือกเรื่อง 3.1.2 วิเคราะห์ผู้อ่าน 3.1.3 กำหนดวิธีนำเสนอ 3.1.4 กำหนดโครงเรื่อง

6 3.2 องค์ประกอบของการเขียน
3.2.1 ระดับภาษา 3.2.2 ความถูกต้อง 3.2.3 ความชัดเจน กระชับ 3.2.4 ความไพเราะ สละสลวย 3.2.5 ความสัมพันธ์ 3.2.6 การสร้างภาพพจน์ 3.2.7 ความกว้างขวาง

7 4. คุณสมบัติของงานเขียนที่ดี
4.1 มีเอกภาพ 4.2 มีสัมพันธภาพ 4.3 มีสารัตถภาพ

8 5. มารยาทในการเขียน 5.1 ใช้กระดาษสีอ่อน/สีสุภาพ
5.2 ตัวหนังสืออ่านง่าย สะอาด เรียบร้อย 5.3 ใช้คำถามระดับภาษา 5.4 ไม่เขียนเรื่องส่วนตัว/ความลับของผู้อื่น 5.5 ระบุแหล่งอ้างอิง

9 หน่วยที่ 2 การใช้ถ้อยคำ สำนวนโวหารใรชีวิตประจำวันและในการประกอบอาชีพ
1. การใช้ถ้อยคำ 1.1 ระดับภาษา 1.1.1 ภาษาแบบแผน 1.1.2 ภาษากึ่งแบบแผน 1.1.3 ภาษาไม่เป็นแบบแผน

10 1.2 การใช้คำ 1.2.1 ความหมายของคำ 1.2.2 ชนิดของคำ 1) คำนาม 2) คำสรรพนาม
3) คำกริยา 4) คำวิเศษณ์ 5) คำบุพบท 6) คำสันธาน 7) คำอุทาน

11 1.2.3 การเลือกใช้คำ 1) ความถูกต้อง 1.1) ใช้คำให้ถูกความหมาย
- คำที่มีความหมายดดยตรงและโดยนัย - คำที่มีความหมายแคลและความหมายกว้าง - คำที่มีความหมายตรงกันข้าม - คำที่มีความหมายเหมือกัน

12 1.2) ใช้คำให้ถูกหน้าที่ 1.3) ใช้คำให้ถูกชนิด 1.4) ใช้คำให้ถูกระดับของภาษา 1.5) ใช้คำให้ถูกต้องตามการสะกด

13 2.3) การใช้คำภาษาต่าง ประเทศ
2) ความชัดเจน 2.3) การใช้คำภาษาต่าง ประเทศ 2.2) การใช้คำผิด 2.1) การใช้คำกำกวม

14 3) ความสละสลวย 3.1) ความกระชับ 3.2) ศักดิ์ของคำ 3.3) การหลากคำ
3.4) สมัยนิยม

15 1.3 การเรียบเรียงประโยค 1) ประโยคความเดียว 2) ประโยคความรวม
1.3.1 ความหมายของประโยค 1.3.2 ประเภทของประโยค ได้แก่ 1) ประโยคความเดียว 2) ประโยคความรวม 3) ประโยคความซ้อน

16 1.3.3 การสร้างประโยคให้มีน้ำหนัก
1) การวางคำที่ต้องการเน้นให้อยู่ในที่ซึ่งมีน้ำหนัก 2) การใช้คำซ้ำ ๆ กัน 3) การจัดความให้ขัดแย้งกัน 4) การจัดความให้มีรูปแบบเดียวกัน

17 1.3.4 การสร้างประโยคให้กะทัดรัดและสละสลวย
1) การรวบความให้กระชับ 2) การใช้คำที่มีความหมายรวมแทน 3) การเขียนให้มีเอกภาพและสัมพันธภาพ

18 1.3.5 ข้อควรระวังในการสร้างประโยค
1) หลีกเลี่ยงการใช้คำวลีแทนคำกริยา 2) หลีกเลี่ยงการใช้สำนวนต่างประเทศ 3) แบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง

19 2. การใช้สำนวน 2.1 ความหมายของสำนวน 2.2 แหล่งที่มาของสำนวน
2.2.1 ชาวนา ชาวเรือ ชาวไร่ ชาวสวน ชาวป่า ฯลฯ 2.2.2 ธรรมชาติ การเล่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ความประพฤติ วรรณคดี ฯลฯ

20 2.3 หลักการใช้สำนวน 2.3.1 ใช้ให้ตรงความหมาย
2.3.2 ใช้ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ 2.3.3 ไม่ใช้ผิดจากที่ใช้กันมาแล้ว

21 3. การใช้โวหาร 3.1 ความหมายของโวหาร 3.2 ประเภทของโวหาร
3.2.1 บรรยายโวหาร 3.2.2 พรรณนาโวหาร 3.2.3 เทศนาโวหาร 3.2.4 อุปมาโวหาร 3.2.5 สาธกโวหาร

22 หน่วยที่ 3 การสะกดคำ 1. สาเหตุของการเขียนสะกดคำผิด
1.1 ไม่ทราบความหมายของคำ 1.2 ใช้แนวเทียบผิด 1.3 ออกเสียงผิด 1.4 มีประสบการณ์ผิด 1.5 ไม่รู้หลักภาษา

23 2. หลักการประวิสรรชนีย์
2.1 คำที่ประวิสรรชนีย์ 2.1.1 คำบาลีสันสกฤต หลายพยางค์เรียงกัน และมีพยางค์ที่ออกเสียงอะ 2.1.2 คำสองพยางค์ขึ้นไป และมีพยางค์ที่ออกเสียงอะ ซึ่งกร่อนมาจากคำอื่น 2.1.3 คำภาษาชวาและออกเสียงอะ 2.1.4 คำที่ขึ้นต้นด้วย สั แผลงเป็น ตะ หรือกระได้

24 2.1.5 คำที่ออกเสียงอะและมีเสียงตัว ร กล้ำในพยางค์หน้า ซึ่งแผลงมาจากคำเดิมที่มีพยางค์เดียว บางคำต้องประวิสรรชนีย์ 2.1.6 คำที่ไม่แน่ชัดว่ามาจขากภาษาใด 2.1.7 คำที่ทราบแน่ว่ามาจากภาใด และมีคำอื่นเทียบเคียง

25 2.2 คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
2.2.1 คำภาษาบาลีสันสกฤต พยางค์ท้ายออกเสียงสระอะ สมาสกับอื่นกลายเป็นพยางค์ที่ไม่ใช่พยางค์สุดท้ายของคำ 2.2.2 พยัญชนะตัวหน้าออกเสียงสระอะไม่เต็มเสียง 2.2.3 คำที่มีตัว ตร และเสียงสระอะทั้งสองตัว โดย ตร แผลงมาจาก ต เดิม ซึ่งเป็นอักษรนำ 2.2.4 คำที่มาจากภาษาเขมร 2.2.5 คำที่ออกเสียง อะ ซึ่งแผลงมาจากคำเดิมที่มีพยางค์เดียว

26 3. หลักการใช้ ศ ษ ส 3.1 คำที่มาจากบาลีใช้ ส ทั้งหมด
3.2 คำที่มาจากสันสกฤต 1) อยู่หน้าพยัญชนะวรรคตาละชะ (วรรคจะ) ใช้ ศ 2) อยู่หน้าพยัญชนะวรรคมุทธชะ (วรรคฏะ) ใช้ ษ 3) อยู่หน้าพยัญชนะวรรคทันตชะ (วรรคตะ) ใช้ ส 3.3 คำในภาไทยหรือที่มาจากภาอื่นนอกจากบาลีสันสกฤตใช้ ส

27 4. หลักการใช้ รร (รอหัน) 4.1 แผลงมาจากคำที่มีตัว ร กล้ำกับพยัญชนะอื่นและหลัง ร เป็น อะ 4.2 มาจาก ร เรผะ (รฺ) ในภาษาสันสกฤต

28 5. หลักการใช้ ณ น 5.2.1 คำไทยแท้ทั้งหมด
5.1 การใช้ ณ มีตัว ฤ ร ษ นำหน้า 5.2 การใช้ น 5.2.1 คำไทยแท้ทั้งหมด 5.2.2 คำที่มาจากบาลีสันสกฤตเดิม 5.2.3 คำภาษาอื่นบางคำ

29 6. หลักการใช้ ใ- ไ- ยัย ไ-ย
6.1 การใช้ ใ- ใช้กับคำที่มาจากภาษาไทยถิ่น 20 คำ 6.2 การใช้ ไ- 6.2.1 คำไทยแท้ทุกคำ 6.2.2 คำที่มาจากบาลีสันสกฤต ซึ่งเดิมใช้ ไ- อยู่แล้ว 6.2.3 คำที่มาจากบาลีสันสกฤตที่แผลงมาจาก อิ อี เอ 6.2.4 คำที่มาจากภาษาเขมร 6.2.5 คำที่มาจากภาษาอื่น ๆ

30 6.3 การใช้ ยัย ใช้กับคำเดิมที่เป็นเสียงอี หรือ อย
6.4 การใช้ ไ-ย ใช้กับคำบาลีหรือสันสกฤตซึ่งรูปเดิมเป็น เ-ยฺย 7. หลักการใช้ อำ อัม อำม 7.1 การใช้ อำ 7.1.1 คำไทยทั่ว ๆ ไป 7.1.2 คำที่แผลงมาจากภาษาอื่น 7.1.3 คำภาษาอื่นที่เขียนตามอักษรวิธีของไทย

31 7.2 การใช้ อัม 7.2.1 ใช้ในคำที่เป้นสระอะ และมีตัว ม สะกดในบาลีสันสกฤต
7.2.2 ใช้ในคำที่มาจากภาษาอังกฤษ 7.3 การใช้ อำม ใช้ในคำที่มีเสียงสระอะนำหน้า และมีตัว ม ตามในภาษาบาลีสันสกฤตจากคำ “อม”

32 8. หลักการใช้ไม้ไต่คู้ (ก็) 8.1.1 คำไทยที่ออกเสียงสั้น
8.1 คำที่ใช้ไม้ไต่คู้ 8.1.1 คำไทยที่ออกเสียงสั้น 8.1.2 คำที่มาจากภาเขมรหรือภาอื่นที่เขียนอย่างคำไทย 8.2 คำที่ไม่ใช้ไม้ไต่คู้ คำไทยที่แผลงมาจากคำบาลีสันสกฤตที่มีเสียงสั้น

33 9. หลักการใช้ไม้ยมก (ๆ) 9.1 การใช้ไม้ยมก การซ้ำคำ ซ้ำวลี ซ้ำประโยค
9.2 การไม่ใช้ไม้ยมก 9.2.1 การเขียนบทร้อยกรอง 9.2.2 คำซ้ำที่เป็นคำต่างชนิดกัน 9.2.3 ไม่ใช้ไม้ยมกข้ามประโยค 9.2.4 ไม่ใช้ไม้ยมกกับคำว่า “นานา”

34 10. หลักการใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต (ก์)
10.1 คำที่ใช้ทัณฑฆาต คำหลายพยางค์ คำที่มาจากภาษาอังกฤษบางคำและต้องการจะรักษารูปศัพท์เดิม

35 10.2 คำที่ไม่ใช้ทัณฑฆาต 10.2.1 คำไทยแท้
คำที่มีตัวสะกดและตัวสะกดนั้นมีสระกำกับอยู่ คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต และเป็นคำที่มี ร ควบกับตัวสะกด คำสมาส

36 12. หลักการใช้คำพ้อองเสียง
11. หลักการใช้วรรณยุกต์ 11.1 คำที่ใช้วรรณยุกต์ ภาษาจีน 11.2 คำที่ไม่ใช้วรรณยุกต์ คำภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ซึ่งเป็นคำทับศัพท์ 12. หลักการใช้คำพ้อองเสียง จับใจความเรื่องที่จะเขียนเพื่อให้ทราบความหมายที่ถูกต้องและสะกดคำได้ถูก

37 หน่วยที่ 4 การเขียนคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
1. การเขียนคำทับศัพท์ 1.1 ความหมายของคำทับศัพท์ สาเหตุของการใช้คำทับศัพท์ 1.2.1 ไม่มีคำนั้นในภาไทย 1.2.2 เป็นศัพท์ที่ใช้กันเฉพาะสาขาวิชาหรือศัพท์เทคนิค 1.2.3 อธิบายความหมายได้กว้างขวางกว่า 1.2.4 ไม่มีการบัญญัติศัพท์หรือแปลเป็นภาษาไทย 1.2.5 แสดงถึงเกียรติภูมิของผู้ใช้

38 1.3 หลักเกณฑ์การทับศัพท์
1.3.1 ให้ถอดอักษรในภาเดิมและเขียนในรูปที่อ่านได้สะดวกในภาไทย 1.3.2 ใช้ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์แต่ละภาษา 1.3.3 คำทับศัพท์ที่ใช้กันมานานจนถือเป็นคำไทยและปรากฎในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานแล้วให้ใช้ต่อไปตามเดิม 1.3.4 คำวิสามานยนามที่ใช้กันมานานแล้ว อาจใช้ต่อไปตามเดิม 1.3.5 ศัพท์วิชาการซึ่งใช้เฉพาะกลุ่ม อาจเพิ่มเติมเกณฑ์ขึ้นตามความจำเป็น

39 1.4 หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
1.4.1 สระ ให้ถอดตามการออกเสียงในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ โดยเทียบเสียงสระภาษาไทยตามตารางเทียบเสียงสระภาษาอังกฤษ 1.4.2 พยัญชนะให้ถอดพยัญชนะภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ในตารางเทียบพยัญชนะภาษาอังกฤษ 1.4.3 การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต 1) พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ 2) คำหรือพยางค์ที่ตัวสะกดมีพยัญชนะตามมาหลายตัวให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงตัวสุดท้ายแต่เพียงแห่งเดียว 3) คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงอยู่หน้าตัวสะกดที่ยังมีพยัญชนะตามหลังมาอีกให้ตัดพยัญชนะที่อยู่หน้าตัวสะกดออกและใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย

40 1.4.4 การใช้ไม้ไต่คู้ 1) เพื่อให้เห็นแตกต่างจากคำไทย 2) ช่วยให้ผู้อ่านแยกพยางค์ได้ถูกต้อง การใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ ไม่ต้องใส่ยกเว้นในกรณีที่คำนั้นเรียงซ้ำกับคำไทยจนทำให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ พยัญชนะซ้อน คำที่มีพยัญชนะซ้อนเป้นตัวสะกด ถ้าเป็นศัพท์ทั่วไปให้ตัดออกตัวหนึ่ง แต่ถ้าเป็นศัพท์วิชาการหรือวิสามานยนามให้เก็บไว้ทั้ง 2 ตัว โดยใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้ที่ตัวท้าย

41 1.4.7 คำที่ตัวสะกดของพยางค์หน้าออกเสียงเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ตัวต่อไปด้วย ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้ 1) ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นเสียงสระอะ ซึ่งเมื่อทับศัพท์ต้องใช้รูปไม้หันอากาศให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้าเข้าอีกตัวหนึ่งเพื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป 2) ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นสระอื่นที่ไม่ใช้สระอะ ให้ทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอึงกฤษโดยไม่ต้องซ้อนพยัญชนะ 3) ถ้าเป็นคำที่เกิดจากการเติมปัจจัย เช่น –er, -ing, -ie, --y และการทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษ ดังข้อ อาจทำให้ออกเสียงผิดไปจากภาษาเดิม คำประสมที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ ให้ทับศัพท์โดยเขียนติดต่อกันไป คำประสมซึ่งในภาอังกฤษเขียนแยกกัน เมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกัน

42 คำคุณศัพท์ที่มาจากคำนาม 1) ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายเหมือนคำนามหรือหมายความว่า “เป็นของ” หรือ “เป็นเรื่องของ” คำนานนั้นให้ทับศัพท์ในรูปคำนาม 2) ถ้าคำคุณศํพท์นั้นมีความหมายว่า “เกี่ยวข้องกับ” หรือ “เกี่ยวเนื่องจาก” คำนามนั้นให้ทับศัพท์ให้รูปคำนามโดยใช้คำประกอบ เชิง แบบ อย่าง ทาง ชนิด ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย 3) ในกรณีการทับศัพท์ในรูปคำนามตามข้อ และ ทำให้เกิดความหมายกำกวมหรือคลาดเคลื่อน ให้ทับศัพท์ในรูปคุณศัพท์ คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล ให้ทับศัพท์ตามชื่อของบุคคลนั้น ๆ โดยใช้คำประกอบ ของ แบบ ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามที่เป็นชื่อประเทศ

43 การวางตำแหน่งคำคุณศัพท์ในคำทับศัพท์ 1) คำคุณศัพท์ที่ประกอบคำนามที่เป็นภาษาไทย หรือเป็นคำทับศัพท์แต่ได้ใช้ในภาษาไทยจนถือเป็นคำไทยแล้ว ให้วางคำคุณศัพท์ไว้หลังคำนาม 2) ถ้าทั้งคำคุณศัพท์และคำนามเป็นคำทับศัพท์ก็ยังไม่ถือเป็นคำไทยให้ทัยศัพท์ตรงตามศัพท์เดิม 3) ถ้าต้องการเน้นว่าคำนามนั้นเป็นสิ่งที่มีหลายชนิดและคำคุณศัพท์ที่ประกอบเป็นชนิดหนึ่งของคำนามนั้น อาจทับศัพท์โดยใช้คำประกอบ แบบ ชนิด ระบบ ฯลฯ มาแทรกไว้ระหว่างคำนามกับคำคุณศัพท์ คำย่อให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ เป็นภาษาไทยโดยไม่ต้องใส่จุดและไม่เว้นช่องไฟ คำทับศัพท์ที่ผูกขึ้นจากตัวย่อ ซึ่งอ่านออกเสียงได้เสมือนคำคำหนึ่ง มิได้ออกเสียงเรียงตัวอักษร ให้เขียนตามเสียงที่ออกและไม่ต้องใส่จุด ตัวย่อชื่อบุคคล ให้เขียนโดยใช้จุด แล้วเว้นช่องไฟระหว่างชื่อกับนามสกุล

44 1.5 วิธีใช้คำทับศัพท์ 1.5.1 แบบลากเข้าความ 1.5.2 แบบถอดรูปเขียน
1.5.3 แบบถ่ายเสียงและถอดรูปเขียน

45 1.6 ลักษณะการใช้คำทับศัพท์
1.6.1 ใช้เป้นส่วนหนึ่งของชื่อร้าน บอกประเภทของสินค้าหรือกิจการที่ประกอบธุรกิจ 1.6.2 ใช้สื่อสารกับคนในวงการธุรกิจและอุตสาหกรรมเดียวกัน 1.6.3 ใช้เป็นคำสแลง

46 2. การเขียนศัพท์บัญญัติ
2.1 ความหมายของศัพท์บัญญัติ 2.2 ที่มาของศัพท์บัญญัติ 2.2.1 การประสมคำ 2.2.2 การคิดคำใหม่ 2.2.3 การเลียนเสียงคำ 2.2.4 การแปลความ

47 หน่วยที่ 5 การเขียนแสดงความคิดเห็นและแสดงความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ
1. การเขียนแสดงความคิดเห็น 1.1 ความหมายของการเขียนแสดงความคิดเห็น 1.2 หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น 1.2.1 มีคุณสมบัตินักเขียน 1.2.2 ทำความแจ่มแจ้งกับข้อเท็จจริงที่จะนำมาเขียน 1.2.3 กำหนดจุดมุ่งหมาย 1.2.4 คำนึงถึงเทคนิคการเขียน 1.2.5 ประเมินผลและปรับปรุงการเขียน

48 1.3 ประเภทของการเขียนแสดงความคิดเห็น
1.3.1 แบ่งตามจุดประเมิน 1.3.2 แบ่งตามเนื้อหา 1.3.3 แบ่งตามประเภทของผู้ส่งสาร 1.3.4 แบ่งตามรูปแบบ

49 2. การเขียนบทความ 2.1 ความหมายของบทความ 2.2 ลักษณะของบบความที่ดี
2.2.1 เป็นเรื่องที่มีสาระ เรื่องจริง 2.2.2 ความรู้และความคิดที่เสนอไม่จำเป็นต้องสมบูรณ์ในตัวเอง 2.2.3 เป็นเรื่องที่คนกำลังสนใจ 2.2.4 ใช้ภาษาและท่วงทำนองเขียนดึงดูดความสนใจผู้อ่าน 2.2.5 เสนอแนวคิดที่แปลก น่าสนใจ

50 2.3 หลักการเขียนบทความ 2.3.1 การเลือกเรื่อง 2.3.2 รวบรวมเนื้อหา
2.3.3 กำหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะ 2.3.4 วางโครงเรื่อง 2.3.5 เขียนตามแผนที่ได้วางไว้

51 2.4 ประเภทของบทความ 2.4.1 บทความแสดงความคิดเห็น
2.4.2 บทความประเภทสัมภาษณ์ 2.4.3 บทความประเภทกึ่งชีวประวัติ 2.4.4 บทความประเภทท่องเที่ยวเดินทาง 2.4.5 บทความประเภทอธิบายวิธีทำอย่างหนึ่งอย่างใด 2.4.6 บทความประเภทปัญหาโต้แย้ง 2.4.7 บทความประเภทวิชาการ 2.4.8 บทความประเภทครบรอบปี

52 3. การเขียนแสดงความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ
3.1 ความหมายของการเขียนแสดงความรู้สึก 3.2 โอกาสนในการเขียนแสดงความรู้สึก 3.2.1 การเขียนแสดงความรู้สึกยินดี 3.2.2 การเขียนแสดงความรู้สึกอาลัย 3.2.3 การเขียนแสดงความรู้สึกเคารพ จงรักภักดี 3.2.4 การเขียนแสดงความรู้สึกรักและเป็นห่วง

53 3.3 รูปแบบการเขียนแสดงความรู้สึก 3.4 ประเภทของการเขียนแสดงความรู้สึก
3.3.1 การเขียนด้วยร้อยแก้ว 3.3.2 การเขียนด้วยร้อยกรอง 3.4 ประเภทของการเขียนแสดงความรู้สึก 3.4.1 การเขียนแสดงความรู้สึกโดยตรง 3.4.2 การเขียนแสดงความรู้สึกด้วยโวหารเปรียบเทียบ


ดาวน์โหลด ppt วิชา การเขียนในงานอาชีพ ( )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google