บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

การวางแผนและกำหนดเป้าหมาย (Organizational Planning and Goal Setting)
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
การวิเคราะห์และการตัดสินใจปัญหาเชิงธุรกิจด้วย Microsoft Excel
Chapter 6: Project Time Management
SCC : Suthida Chaichomchuen
Civil Engineering and Construction Management การบริหารการก่อสร้าง
การบริหารโครงการ (Project anagement)
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
พัฒนาการบริหาร ที่มีประสิทธิภาพ ??? โดยการบริหารการพัฒนาโครงการ
1-1: Software Project Management การจัดการโครงงานซอฟต์แวร์ Software Project Management การจัดการโครงงานซอฟต์แวร์ ความหมายการจัดการโครงงาน.
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
Shortest-Path Algorithms
PERT/CPM.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
การบริหารโครงการโดยวิธีการ เชิงปริมาณ ศึกษาเทคนิคและวิธีการเลือก โครงการ บทบาทของผู้จัดการโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดลำดับงาน การจัดสรรเวลาและทรัพยากรต่างๆ.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Information Systems Project Management MIT-M Chiangmai University Project Scheduling Project Implementation ครั้งที่ 4 วันที่ 6 มีนาคม 2559.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
ครูสมศรีกับยุคปฏิรูปการศึกษา
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
การวางแผนกำลังการผลิต
การบริหารธุรกิจ MICE Chapter 7 TD 451.
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
การกำหนดตารางเวลาโครงการ
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา
การบริหารโครงการ Project Management
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
Controlling 1.
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
บทที่ 2 การวางแผนและการบริหารโครงการ (Project Planning and Management)
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การบริหารโครงการ วิเชศ คำบุญรัตน์
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
การควบคุม (Controlling)
9. GRAPH ALGORITHMS.
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
การประมาณการโครงการ.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
<insert problem title>
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM

ประเด็นบทที่ 7 - ความหมายของโครงการ - ลักษณะของปัญหา ประเด็นบทที่ 7 - ความหมายของโครงการ - ลักษณะของปัญหา - การบริหารโครงการ - การสร้าง PERT/CPM

การประเมินวิเคราะห์โครงการ (PERT) P = program or project or performance E = Evaluation R = Review T = Technique

CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต PERT คือ วิธีการที่ในการวิเคราะห์กระบวนการหรือกลไกการทำงานของโครงการ งาน หรือ แผนงาน ต่างๆ ซึ่งจะเป็นการควบคุม ลดความยุ่งยากและการทำงานซ้ำซ้อน CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต

CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต อาศัยข่ายงาน (network) แสดงความสัมพันธ์ของงานต่างๆ ในโครงการที่มีตำแหน่งงานเป็นจุดรวมและจุดแยกของกลุ่มงานต่างๆ ข้อแตกต่างของ CPM และ PERT คือ CPM จะแสดงงานและระยะเวลาของงานที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต

ประโยชน์ของ PERT/CPM เพื่อช่วยในด้านการวางแผนโครงการ เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ

ทรัพยากรที่จำเป็นต่อการสร้าง PERT/CPM data ของงาน,โครงการ,องค์กร ลักษณะงาน ความเกี่ยวข้อง, ความเชื่อมโยงของงาน ผู้รับผิดชอบงาน อำนาจการตัดสินใจ เวลา และงบประมาณ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ความเกี่ยวข้องกับองค์กรภายนอก แนวคิดการกำหนดเกณฑ์การตัดสินใจ อาทิ efficiency , maximax maximin

สิ่งที่ต้องดำเนินการเพื่อการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ data ระบบ กระบวนการ และกลไก ความคิด (Concept) ปัจจัยเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Product) ความเชื่อมโยงของงาน (net work) ลำดับชั้นของงาน

สิ่งที่ต้องทราบในการสร้าง PERT สัญลักษณ์ ตำแหน่ง งานเสริมหรืองานจำลอง (dummy activity) ข้อควรระวัง สายงานต้องไม่มีการไหลย้อนกลับ node Dummy activity

วิธีการวิเคราะห์ PERT/CPM ES = earliest start (เวลาที่เร็วที่สุดที่จะเริ่มงานได้) EF = earliest finish (เวลาที่เสร็จสิ้นเร็วที่สุดของงาน) LS = Latest start (เวลาที่ช้าที่สุดที่จะเริ่มงานได้) LF = Latest finish(เวลาที่เสร็จสิ้นช้าที่สุดของงาน) FS = free slack (ระยะเวลาของงานที่จะล่าช้าได้โดยไม่มีผลกระทบต่องานอื่น) TS = total slack time (ระยะเวลารวมของงานที่จะล่าช้าได้โดยไม่มีผลของโครงการ) t = time (เวลาของงาน)

ขั้นตอนในการสร้าง PERT ความสำคัญ ของงาน งานหลัก การวิเคราะห์งาน ลักษณะงาน โครงการ ความเกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงของงาน เวลาที่ใช้ ของแต่ละงาน ลำดับของงาน ต้นทุนหรืองบประมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละงาน ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากรที่ใช้ การสร้างตาราง PERT งานรอง งานย่อย งานที่ไม่เกี่ยวข้อง

กรณีตัวอย่าง การทำวิจัย การวิเคราะห์งาน ลักษณะงาน ความเกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงของงาน เวลาที่ใช้ ของแต่ละงาน ลำดับของงาน ต้นทุนหรืองบประมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละงาน ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากรที่ใช้ การสร้างตาราง PERT

ลักษณะของ PERT แบบที่หนึ่ง A B D C E F G H I J 13 ลำดับงาน K L M

ลักษณะของ PERT แบบที่สอง A G B D E F I C H J 11 ลำดับงาน K L M

วิธีการวิเคราะห์ การกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด(Earliest Time) การกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด(Latest Time) การกำหนดงานวิกฤต

การกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด(Earliest Time) เป็นการคำนวณหาว่าแต่ละกิจกรรมในโครงการจะเริ่มต้นทำงานได้เร็วที่สุด (ES) เมื่อใด และจะเสร็จอย่างรวดเร็วที่สุด(EF)ได้เมื่อใด โดยคำนวณจากจุดเริ่มต้นของโครงการจนสิ้นสุดโครงการ 4 A ES EF 4 6 B 2 ES EF 6 14 D 8 ES EF 14 18 E 4 ES EF เริ่มต้น 3 C ES EF

การกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด(Latest Time) เป็นการคำนวณหาเวลาในการดำเนินโครงการอย่างช้าที่สุดแล้วแต่ละกิจกรรมในโครงการจะเริ่มต้นทำงานได้เมื่อใด(LS) และจะแล้วเสร็จเมื่อใด (LF) โดยคำนวณจากจุดสิ้นสุดโครงการย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นโครงการ 4 A ES EF เริ่มต้น 3 1 C 6 B 2 14 D 8 18 E LS LF

การกำหนดงานวิกฤต การนำเวลาในการทำงานอย่างรวดเร็วที่สุดลบเวลาในการทำงานอย่างช้าที่สุด เพื่อกำหนดกิจกรรมวิกฤต ซึ่งก็คือการกำหนดเส้นทางที่เชื่อมต่อกิจกรรมวิกฤตเข้าด้วยกัน วิธีการกำหนดงานวิกฤต

การคำนวณข่ายงานแบบ PERT เป็นการวิเคราะห์ข่ายโครงการในด้านของเวลาและความเป็นไปได้ในการบริหารโครงการ ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้เร็วที่สุด(Optimistic time) : a ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้ช้าที่สุด(Pessimistic time) : b ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้เป็นส่วนมาก(most likely time) : m

ความน่าจะเป็นของโครงการ ทดสอบสมมติฐาน โอกาสในการที่จะเร่งรัดโครงการ H0 : สามารถเร่งรัดโครงการได้ Ha : ไม่สามารถเร่งรัดโครงการได้

การเร่งรัดโครงการ เป็นการจัดการโครงการที่ทำให้โครงการเสร็จได้เร็วขึ้น โดยอาจทำได้โดยการควบคุมงานวิกฤตให้เสร็จตามกำหนดหรือเร็วกว่ากำหนด โดยการเร่งรัดโครงการนี้อาจทำให้ส่งผลต่อต้นทุนของโครงการให้เพิ่มขึ้น หรืออาจจะลดลงก็ได้ การวิเคราะห์การเร่งรัดโครงการ เวลาดำเนินงานปกติ (normal time : Tn) เวลาดำเนินงานอย่างเร่งรัด (crash time : Tc) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานปกติ (normal cost : Cn) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอย่างเร่งรัด (crash cost : Cc) Avg. crash cost คือ ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดโครงการต่อหนึ่งหน่วยเวลา

จบการนำเสนอ