บทที่ 1 ข้อความเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
Presented by Kru Pattapong Promchai
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
เอกสารการประกันภัย Insurance documents.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
กฎหมายกับเพศภาวะ Law & gender
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ข้อความเบื้องต้น บทที่ 1 ข้อความเบื้องต้น

ภัยต่อไปนี้สามารถหลีกเลี่ยงได้และไม่ ?? หากน.ศ.คิดว่าเป็นภัยที่หลีกเลี่ยงได้มีวิธีจัดการความเสี่ยงภัยอย่างไร

ประเภทของภัย เราสามารถแบ่งภัยออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเภทของภัย เราสามารถแบ่งภัยออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ภัยจากธรรมชาติ ( Natural Perils ) หมายถึง เหตุที่อยู่นอกเหนือความสามารถของมนุษย์ที่จะควบคุมได้ เช่น ไฟป่า พายุ ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น 2. ภัยที่มนุษย์สร้างขึ้น ( Human Perils ) หมายถึง เหตุที่เกิดจากการกระทำของบุคคล เช่น การลอบวางเพลิง การฆาตกรรม การจลาจล เป็นต้น 3. ภัยจากเศรษฐกิจ ( Economic Perils ) หมายถึง เหตุที่เกิดจากสภาพทางเศรษฐกิจ เช่น การเกิดภาวะเงินฝืด การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค

เกิดความสูญเสีย Loss 1. การสูญเสียชีวิต หรือ การสูญเสียรายได้ของบุคคล ( Personal Loss ) เป็นการสูญ เสียที่เกิดจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร การเป็นบุคคลทุพพลภาพ การว่างงาน 2. การสูญเสียทรัพย์สิน ( Property Loss ) เป็นการสูญเสียไม่ว่าทางตรงหรือเป็นผลต่อ เนื่องจากภัยที่เกิดขึ้น 3. การสูญเสียทางการเงินอันเนื่องจากความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่นตามกฏหมาย ( Legal Liability Loss )

ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการประกันภัย มีด้วยกัน 3 เรื่อง คือ 1. ความน่าจะเป็น ( Probablilty ) เป็นทฤษฎีว่าด้วยการคำนวณโอกาสว่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นได้ กี่ครั้งในจำนวนครั้งที่ได้กำหนดไว้ทั้งหมด เพื่อที่จะสามารถคำนวณเบี้ยประกันภัยที่ต้องเรียกเก็บจากผู้เอาประกันภัยให้ เพียงพอที่จะนำไปชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเมื่อมีภัยเกิดขึ้นในอนาคตตามที่ได้ รับประกันภัยไว้ 2. กฎว่าด้วยจำนวนมาก ( Law of large number ) มีหลักว่า การเสี่ยงภัยจะลดลง ถ้าจำนวนวัตถุที่มีส่วนในเหตุการณ์เสี่ยงภัยมากขึ้น

3. กฎของการเฉลี่ย ( Law of average ) ถ้ากลุ่มผู้เสี่ยงภัยมีน้อย ค่าเบี้ยประกันภัยก็จะมีอัตราสูง และทำให้การดำเนินงานการ ประกันภัยไปได้ยาก ในทางตรงกันข้าม ถ้ากลุ่มผู้เสี่ยงภัยมีมาก ค่าเบี้ยประกันภัยก็จะมีอัตราต่ำ

ยกตัวอย่างการรับประกันรถยนต์และการคิดเบี้ยประกันพิจารณาจาก ข้อมูลรถยนต์ ผลต่อเบี้ยประกัน รุ่น เบี้ยประกันรถสปอร์ตจะแพงกว่ารถเก๋งทั่วไป เครื่องยนต์ ยิ่งเครื่องยนต์แรง ราคาเบี้ยประกันก็ยิ่งแพง ประเภทเครื่องยนต์ เครื่องเทอร์โบ ทำให้เบี้ยประกันสูงขึ้น ปีที่ผลิต เบี้ยประกันจะถูกกว่า หากเป็นรถเก่า (แต่บริษัทประกันบางแห่ง ไม่รับรถที่เก่าเกินไป)

ข้อมูลผู้ขับขี่ ผลต่อเบี้ยประกัน อายุ อายุและประสบการณ์การขับรถที่มากขึ้น ช่วยให้เบี้ยประกันถูกลง เพศ ผู้ชายมีแนวโน้มเป็นผู้ขับขี่ ที่มีความเสี่ยงสูงกว่าผู้หญิง สถานะการสมรส ผู้ที่มีครอบครัวแล้วมีแนวโน้มเป็นผู้ขับขี่ ที่มีความเสี่ยงต่ำกว่าผู้ที่ยังไม่มีครอบครัว การใช้รถ ผู้ที่ใช้รถเป็นการส่วนตัวและขับไปกลับที่ทำงาน มีความเสี่ยงต่ำกว่าผู้ที่ใช้รถระหว่างการทำงานหรือใช้ในการพาณิชย์ ประวัติการเคลม ผู้ขับขี่ที่มีประวัติการเคลมสูง อาจจะต้องจ่ายค่าเบี้ยประกันสูงกว่า หรืออาจจะถูกปฏิเสธ

กฎหมายสำคัญเกี่ยวข้องกับประกันภัย 1. ป.พ.พ. บรรพ 3 ลักษณะ 20 3 หมวด หมวด 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป (ม.861-868) หมวด 2 ประกันวินาศภัย วินาศภัยทั่วไป ม.869 - 882 ประกันภัยรับขน ม.883 - 886 ประกันภัยค้ำจุน ม.887 - 888 หมวด 3 ประกันชีวิต (ม.889-897)

2. กฎหมายควบคุมการประกอบธุรกิจประกันภัยโดยเฉพาะ 1. พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 2535 2. พ.ร.บ.ประกันชีวิต 2535

3. กฎหมายประกันภัยภาคบังคับ พ.รบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

ประโยชน์ของการประกันภัย เป็นการแบ่งเบาความเสียหายในชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน ช่วยให้การประกอบธุรกิจมีความมั่นคงและส่งเสริมการลงทุน ลดค่าใช้จ่ายหรือราคาแห่งการป้องกันการเสี่ยงภัย เป็นแหล่งเงินทุน สร้างความน่าเชื่อถือแก่ผู้เอาประกัน

ประวัติของการประกันภัยในต่างประเทศ 5000 A.D ชาวบาบิโลน มอบทรัพย์สิน ภรรยาและบุตรเป็นประกันกำไรจากการขายสินค้า 3000 A.D ในประเทศจีน กระจายความเสี่ยงในเรือแต่ละลำ ค.ศ. 1853 ธุรกิจประกันภัยแห่งแรกในอิตาลี ประกันภัยทางทะเล ประกันชีวิตสมัยกรีกและโรมัน โดยบริจาคเงินช่วยทำศพจากคนที่ไปโบสถ์เป็นรายเดือน การประกันอัคคีภัย ในอังกฤษ พ.ศ. 2210 “The Fire Office” “The Friendly Society”

Lloyd's of London in the early 19th century.

การประกันชีวิตถูกมองว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์จากชีวิตของมนุษย์อย่างไร้ ศีลธรรม และในหลายประเทศได้ออกกฎหมายห้ามการดำเนินการดังกล่าว แต่ในอังกฤษไม่มีการห้ามดำเนินกิจการดังกล่าว ในอังกฤษ พ.ศ. 2074 Richard Martin กับพวกได้เสนอแนวทางที่เกี่ยวกับ คือหากผู้เอาประกันถึงแก่ความตายภายใน 12 เดือน ผู้รับประกันจะจ่ายเงินเป็นจำนวน 400 ปอนด์

ประวัติการประกันภัยในประเทศไทย ในสมัยร. 4 มีบริษัทธุรกิจประกันภัยต่างประเทศ บริษัท east-asiatic เป็นบริษัทแรกที่ดำเนินการโดยคนไทยและคนต่างชาติ กฎหมายฉบับแรก คือพ.ร.บ.เข้าหุ้นส่วนและบริษัท ร.ศ. 130 (พ.ศ 2454) ควบคุมการตั้งบริษัทประกันภัยไม่ให้ตั้งโดยเสรี พ.ศ. 2472 มีบริษัทประกันภัยก่อตั้งโดยคนไทยเป็นครั้งแรก

รัฐควบคุมกิจการประกันภัย โดยมีพ. ร. บ. ประกันวินาศภัย และ พ. ร. บ รัฐควบคุมกิจการประกันภัย โดยมีพ.ร.บ.ประกันวินาศภัย และ พ.ร.บ.ประกันชีวิต พ.ศ. 2510 คำนึงประโยชน์ของผู้เอาประกัน ได้มีการกำหนดธุรกิจประกันภัยไว้ในกฎหมายที่ว่าด้วยความผาสุกและปลอดภัยแห่ง สาธารณชน ทั้งจำเป็นต้องกำหนดระเบียบการปฏิบัติในการควบคุมธุรกิจให้มีมาตรฐานและ ปลอดภัยด้วย ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2472 มีบทบัญญัติลักษณะ 20 ว่าด้วยประกันภัยตั้งแต่มาตรา 861 ถึงมาตรา 897 และมีผลบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน

ประกันภัย มีลักษณะเป็นการเฉลี่ยทรัพย์บางส่วนจากสมาชิกผู้เอาประกัน มารวมไว้เป็นกองกลางจำนวนหนึ่ง เมื่อมีผู้ได้รับความเสียหายตามสัญญา ผู้รับประกันจะนำเงินจำนวนนี้ใช้ให้แก่ผู้เสียหาย

ประกันภัย หมายความว่า การโอนความรับผิดชอบของผู้เอาประกันภัยไปยังผู้รับประกันภัย โดยมีการสัญญาว่าถ้ามีความเสียหายเกิดขึ้นตามที่ตกลงกันไว้ บริษัทจะจ่ายค่าเสียหายให้ตามที่รับประกัน โดยผู้เอาประกันต้องส่งเบี้ยประกัน (เงินจำนวนหนึ่ง)

ประกันภัย เป็นคำรวม - Life Insurance - Non – Life Insurance

รับค่าสินไหมตามจำนวนจริงที่เสียหายโดยไม่เกินทุนประกัน สัญญาประกันภัย สัญญาประกันวินาศภัย สัญญาประกันชีวิต จ่ายเบี้ยประกันภัย จ่ายเบี้ยประกันภัย ผู้รับประกัน ผู้เอาประกัน ผู้รับประกัน ผู้เอาประกัน เปิดสไลด์ พูด:สัญญาประกันภัยแบ่งเป็นสัญญาประกันวินาศภัยและประกันชีวิต ถาม: ประกันวินาศภัยประกันเรื่องของอะไรคะ ? ตอบ : ประกันการสูญเสียในเรื่องทรัพย์สิน ถาม : ประกันชีวิตประกันการสูญเสียอะไร ? ตอบ : ประกันชีวิตประกันการสูญเสียรายได้แต่ละบุคคล พูด : สัญญาวินาศภัยการจ่ายเรียกว่าเป็นค่าสินไหม แต่ประกันชีวิตสัญญาจ่ายเรียกว่า เงินจำนวนหนึ่ง วินาศภัยจ่ายความเสียหายจริงที่เกิดขึ้นไม่เกินทุนเดิมที่ทำไว้ แต่ประกันชีวิตจ่ายเนื่องจากการอยู่ครบสัญญา และการเสียชีวิตของผู้เอาประกันเท่านั้น สัญญาจ่ายค่าสินไหม สัญญาจ่ายเงินจำนวนหนึ่ง เท่าทุนประกันเมื่อ เมื่อเกิดวินาศภัย รับค่าสินไหมตามจำนวนจริงที่เสียหายโดยไม่เกินทุนประกัน - เสียชีวิต - อยู่ครบสัญญา

1.ประกันวินาศภัย ประเภทของสัญญาประกันภัย มี 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทของสัญญาประกันภัย มี 2 ประเภท ได้แก่ 1.ประกันวินาศภัย เป็นการประกันภัยความเสียหายอันอาจเกิดขึ้นไม่แน่นอนในอนาคตตามที่ตกลงกันไว้และความเสียหายนั้นสามารถประมาณเป็นเงินได้ แบ่งเป็น 3 ประเภท

1. ประกันภัยวินาศภัยทั่วไป 2. ประกันภัยรับขน เป็นสัญญาที่คุ้มถึงวินาศภัยทุกอย่างที่ เกิดขึ้นในระหว่างการขนส่ง 3. ประกันภัยค้ำจุน หรือ ประกันภัยความรับผิด คือการที่ผู้รับประกันภัยตกลงว่าจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ให้แก่บุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำของผู้เอาประกันภัย

2.ประกันชีวิต คือสัญญาซึ่ง ผู้รับประกันภัยตกลงจะใช้เงินจำนวนหนึ่งที่แน่นอนให้แก่ผู้เอาประกันหรือผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอาประกันหรือผู้ที่ได้ถูกเอาประกันชีวิตไว้ได้ตายลง(มรณะ) และเมื่อผู้นั้นยังมีชีวิต (ทรงชีพ)อยู่จนถึงเวลาที่ได้ตกลงกันไว้