การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
เลขยกกำลัง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x a = a 2 a x a x a = a 3 a x a x a x a = a 4.
การคูณและการหารเอกนาม
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม
บทเรียนคอมพิวเตอร์ชุดนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัด และประเมินผลทางการศึกษา เป็นเนื้อหาที่อยู่ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ วิชาภาษาอังกฤษ.
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1 Search & Sort Search & Sort วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
การกระทำผิดกฏหมายเกี่ยวกับการป่าไม้
การสื่อสารข้อมูล.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 1 MIT App Inventor เรียนรู้การใช้งานเบื้องต้น ทดสอบการเชื่อมต่อโปรแกรมกับโทรศัพท์มือถือ
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ก า ร บ ก ว.
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
ส่วนประกอบของประโยค. ประโยคหนึ่ง ๆ จะต้องมีภาคประธานและภาคแสดงเป็น หลัก และอาจมีคำขยายส่วนต่าง ๆ ได้
ส่วนประกอบของประโยค. ประโยคหนึ่ง ๆ จะต้องมีภาคประธานและภาคแสดงเป็น หลัก และอาจมีคำขยายส่วนต่าง ๆ ได้
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
การลดรูป Logic Gates.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Control Statement เงื่อนไขคำสั่งในโปรแกรม ภาษา C
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ภาพที่1 : ตัวอย่างข้อความชื่อภาพ
หลักเกณฑ์ในการตั้งตัวแทน
แบบฝึกหัด 1.ผู้ส่งสารมีวัตถุประสงค์ใดในการนำเสนอ งาน 2.การกำหนดความเหมาะสมของเนื้อหา ภาพ และเสียงขึ้นอยู่กับอะไร 3.ภาพที่ใช้ในการสร้างสื่อเพื่อดึงดูดความ.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
ด้วยตัวเอง โดยใช้แรงต้าน
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x ตัวแปรชุดเดิม ผลลบของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลลบของสัมประสิทธิ์ x ตัวแปรชุดเดิม 5x2yz3 + 2x2yz3 = (5 + 2) x2yz3 = 7 x2yz3 3a2b – 10a2b + 2a2b = (3 – 10 +2) a2b = -5a2b next

ตัวอย่างการบวกและลบเอกนาม = 2m2n – 3mn2 + 4m2n + 8mn2 มีค่าเท่าไร 2m2n – 3mn2 + 4m2n + 8mn2 = (2m2n + 4m2n) + (– 3mn2 + 8mn2 ) = 6m2n + 5mn2) next

แบบฝึกหัด 3x + 2x 2. 5x + (-2x) 3. 3y + 4x 4. 7x – (-5x) 5. 5mn + (-5mn) 6. -xy + 4xy 7.

3x + 2x = (3+2)x = 5x next

5x + (-2x) = [5 + (-2)]x = 3x next

เนื่องจาก y และ x เป็นตัวแปรคนละชุดกัน 3y + 4x = 3y + 4x เนื่องจาก y และ x เป็นตัวแปรคนละชุดกัน นำมาบวกกันไม่ได้ next

7x – (-5x) = (7 + 5)x = 12x next

5mn + (-5mn) = [5 + (-5)]mn = 0 next

-xy + 4xy = (-1 + 4)xy = 3xy back

= = = = back