ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง ร้อยละ 85
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ตามเกณฑ์ Green & Clean Hospital ร้อยละ 20
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) ร้อยละ 36
- RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ 50 - RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 20 ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของ รพ. ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) - RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ 50 - RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 20 - RDU ขั้นที่ 1 - RDU ขั้นที่ 2
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery ร้อยละ 15 พัทลุง,สงขลา,ปัตตานี อยู่ระหว่างดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 7 อัตราการเสียชีวิตของ ผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) (ECS) น้อยกว่าร้อยละ 12
ตัวชี้วัดที่ 8 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (TB) อยู่ระหว่างการรักษาข้อมูลจากระบบ TBCM ณ วันที่ 8 มกราคม 2561
ตัวชี้วัดที่ 9 จำนวนเมืองสมุนไพร (Herbal City) ปี 2560 จำนวน 4 จังหวัด (4 เขตสุขภาพ) ปี 2561 จำนวน 9 เมืองสมุนไพร (9 จังหวัดส่วนขยาย/9 เขตสุขภาพ) รวม 12 เขตสุขภาพ (13 จังหวัด)
ตัวชี้วัดที่ 10 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - ร้อยละ 60 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ระดับ 5 - ร้อยละ 20 ของสำนักงานสาธารณสุข อำเภอ ระดับ 5
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่าน การรับรอง HA ขั้น 3 - ร้อยละ 100 ของ รพศ. รพท. รพ. สังกัดกรมการแพทย์, กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต - ร้อยละ 80 ของ รพช
ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว ร้อยละ 25
ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 25
ไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ตัวชี้วัดบริบทเขต 12 อัตราส่วนการเสียชีวิตของมารดา ไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน