บรรยายครั้งที่ 3 - กราฟิกวิศวกรรม 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
Advertisements

1. กำหนดให้จุด F เป็นจุดโฟกัสของรูปพาราโบรา ( Focus of parabora) 2. หาจุด B โดยระยะ EB = 0.30 EG จุดเรียกว่า “Corrected entrance point” ลากเส้น BF 3. ใช้จุด.
พิจารณาหา D ในช่วง a< ρ <b
โดย... ฮัมดัน มะเซ็ง ฝ่ายซ่อมบำรุงรักษาและพัฒนาเครื่องมือ
การเรียนรู้โปรแกรมช่วยออกแบบ Solid Edge
ฟังก์ชั่น function.
สวทช NSTDA ชุมนุมสมาชิก JSTP
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การสร้างงานกราฟิก ในภาษา php
THREAD PLUG GAUGE, THREAD RING GAUGE
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
Basic 2D & Dimensions Week 2
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
Week 6&7 ISOMETRIC DRAWING การเขียนภาพไอโซเมตริก.
Coordinate Systems & Map Projections.
ให้ทำการเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงรูปภาพ ดังนี้
 ตัวแปร คือ สิ่งที่เอาไว้เก็บค่า ข้อมูลต่างๆ  เราสามารถใช้ตัวแปรในการระบุค่า ให้กับตัวเลขด้านหลังคำสั่งได้  เช่น rt 30 เราสามารถสร้างตัว แปรในการแทนค่า.
เรื่อง การสร้าง Curve และ Feature จุดประสงค์ของเนื้อหา นักศึกษาต้องมีความรู้ และเข้าใจคำสั่ง Curve และ Feature ได้ถูกต้อง นักศึกษาสามารถใช้คำสั่งในการสร้าง.
ชิ้นส่วนมาตรฐาน (Standard Part)
MECH 0230 MECHANICAL DRAWING
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
หน้าที่ของสื่อใหม่. ให้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อ เผ้าระวัง สภาพแวดล้อม เช่น เสนอข้อมูล เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้ผู้รับสาร พัฒนาตามความก้าวหน้า ระวังภัย เกิดจากเทคโนโลยี
Chapter 5 Satellite Systems
CAD/CAM/CAE/CNC กับอุตสาหกรรมการผลิต
การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ โดย ดนัย บุณยเกียรติ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(MQS2104) โดย อ. วีระ ตุลาสมบัติ
การเขียนภาพประกอบ(Assembly Draw.)
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Goolgle SketchUp.
Engineering Graphic II [WEEK8] พื้นฐาน AutoCAD 2006.
จุดมุ่งหมายของการเขียนแบบ
การทดสอบสมมติฐาน.
Engineering Graphics II [WEEK6]
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
ความสำคัญ บทบาท ประเภท ของการวาดเส้น
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
การวาดภาพทัศนียภาพคืออะไร
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 10 ตุลาคม 2558.
อนุพันธ์ของเวคเตอร์ อนุพันธ์ธรรมดาของเวคเตอร์ (Ordinary of Vectors)
การออกแบบตกแต่งภายใน
เรื่อง การวาดเส้น Drawing
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1
เรียนรู้เทคนิคการสร้าง PowerPoint slide Index
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ “เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์”
Quantum Information Theory
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การเขียนแบบและออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์
Chapter 5 Satellite Systems
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยายครั้งที่ 3 - กราฟิกวิศวกรรม 1 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แผนการสอน

การให้ขนาด (dimensioning) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาด (dimensioning)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบงาน (working drawing) เป็นแบบที่ใช้สร้างชิ้นส่วน ต้องมีความสมบูรณ์ ไม่จำเป็นต้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมให้กับผู้ทำชิ้นส่วนอีก แบบงานจะประกอบด้วยการให้ขนาดที่ชัดเจน แม่นยำ และให้ความหมายอย่างเดียว โดยทั่วไปแต่ละพื้นผิว เส้น หรือจุด จะแสดงการให้ขนาดเพียงชุดเดียว และไม่มีการให้ซ้ำในภาพอื่น

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนประกอบของการให้ขนาด

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นขนาดและเส้นกำกับ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตำแหน่งตัวเลขขนาด

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดหัวลูกศรและรูปแบบ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นขนาดเอียง

การบอกขนาดจากภาพบางส่วน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การบอกขนาดจากภาพบางส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นกำกับ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การใช้เสันผ่าศูนย์กลางเป็นเส้นกำกับ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นชี้ใช้สำหรับการเขียนข้อความ ขนาด สัญลักษณ์ หมายเลขรายการ หรือหมายเลขชิ้นงานบนภาพ เส้นชี้ควรเป็นเส้นตรงเอียง (ไม่เป็นเส้นตั้งหรือเส้นนอน) และต่อด้วยเส้น นอนสั้นๆ ซึ่งจะเขียนข้อความต่อที่ปลายเส้น ปลายเส้นชี้อาจเป็นหัวลูกศรหรือจุดที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างน้อย .06 นิ้ว (1.5 มม.)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปลายศรชี้ควรจะจรดเส้นขอบภาพ ส่วนจุดควรจะอยู่ในบริเวณภาพและ บนพื้นผิว เส้นชี้ไม่ควรงอโค้งในทุกกรณียกเว้นหลีกเลี่ยงไม่ได้ และไม่ควรทับกัน และควรเขียนเส้นชี้ที่ติดกันให้ขนานกัน เมื่อเขียนเส้นชี้กับวงกลมหรือส่วนโค้ง เส้นชี้ต้องพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลาง การเขียนข้อความกำกับเส้นชี้ต้องเขียนในแนวนอน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นชี้

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนข้อความกำกับเพื่อให้การบอกขนาดง่าย และสมบูรณ์ อาจจะเขียนแบบใช้รวม เช่น Rounds and Fillets R.06 (รัศมีของส่วน โค้งและลบมุม เท่ากับ 0.06) อาจจะเขียนแบบเฉพาะที่ โดยใช้เส้นชี้ไปที่ตำแหน่งที่ต้องการ ในกรณีที่มีลักษณะและขนาดซ้ำที่ต้องการหลายตำแหน่ง ในการเขียน เฉพาะที่ให้ใช้เครื่องหมาย X (คูณ) และตัวเลขแสดงจำนวน ที่ต้องการ เช่น 2 x ∅6, M12 x 12.5

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการเขียนแบบโดยใช้หน่วยทั้งหมดเป็นนิ้ว หรือ มม. ไม่จำเป็นต้องเขียนกำกับบอกหน่วยในแต่ละแห่ง แต่ต้องเขียนแสดงหน่วยที่ใช้ไว้ในแผ่นแบบนั้น

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ควรให้ขนาดในภาพ เส้นขนาดที่บอกระยะสั้นที่สุด (กว้าง ยาว และ สูง) จะอยู่ใกล้ภาพมากที่สุด ให้ขนาดในตำแหน่งของภาพที่แสดงลักษณะหรือรูปร่างได้ดี ในกรณีภาพขนาดใหญ่ สามารถให้ขนาดในภาพได้ ใช้ระบบการให้ขนาดแบบเดียวกัน ไม่ควรให้ขนาดซ้ำกับภาพอื่น ควรเลือกการให้ขนาดที่ไม่มีการหักลบหรือบวก เพื่อแสดงหรือกำหนดลักษณะ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ขนาดระหว่างภาพ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดสั้นที่สุดอยู่ใกล้ภาพ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดแนวเส้น เส้นขนาดและเส้นกำกับ เส้นชี้ การเขียนข้อความกำกับ หน่วยวัด หลักการเบื้องต้นของการให้ขนาด การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดไม่ตรงมาตราส่วน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 2 ภาพ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 2 ภาพ

การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 1 ภาพ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยใช้ภาพ 1 ภาพ

การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางบนพื้นที่หน้าตัด ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางบนพื้นที่หน้าตัด

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดรัศมีที่ไม่ต้องมีตำแหน่งเส้นผ่าศูนย์กลาง

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขนาดรัศมีที่แสดงตำแหน่งเส้นผ่าศูนย์กลาง

การให้ขนาดส่วนปลายโค้งทั้งหมด การให้ขนาดส่วนปลายโค้งบางส่วน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดส่วนปลายโค้งทั้งหมด การให้ขนาดส่วนปลายโค้งบางส่วน การให้ขนาดและแสดงตำแหน่งรู

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดส่วนทรงกลม

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) มุม (angle)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

การให้ขนาดรูทรงกระบอกเจาะทะลุ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูทรงกระบอกเจาะทะลุ

การให้ขนาดรูทรงกระบอกตัน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูทรงกระบอกตัน

การให้ขนาดรูทรงกระบอกหลายรูที่มีขนาดเดียวกัน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูทรงกระบอกหลายรูที่มีขนาดเดียวกัน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยายแบบ counterbores and countersinks

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูยาว (slotted holes) ซึ่งทำหน้าที่ชดเชยความไม่แม่นยำในการผลิตและเพื่อใช้สำหรับการปรับ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดชิ้นส่วนที่มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง (diameter) รัศมี (radius) ทรงกลม (sphere) การให้ขนาดส่วนของวงกลม (chord) ส่วนโค้ง (arc) และมุม (angle) รูทรงกระบอก (cylindrical holes) รูยาว (slotted holes) รูเจาะขยาย

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ counterbore - เป็นรูตรงเจาะขยาย (รูลึก) สำหรับให้ส่วนหัวของสลัก เกลียวฝังใต้ผิวชิ้นงาน spotface - เป็นรูตรงเจาะขยาย (รูตื้น) สำหรับให้ผิวสัมผัสเรียบสำหรับ ส่วนหัวของสลักเกลียว น็อต หรือ แหวนรอง countersink - เป็นรูเอียงเจาะขยาย (รูตื้น) สำหรับให้สำหรับส่วนหัวของ สกรู rivets ฯลฯ ฝังลงเสมอชิ้นงาน counterdrilled - เป็นรูเอียงเจาะขยาย (รูลึก) สำหรับให้สำหรับส่วนหัว ของสกรู rivets ฯลฯ ฝังลงใต้ผิวชิ้นงาน

การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ counterbore และ spotface โดยใช้สัญลักษณ์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ counterbore และ spotface โดยใช้สัญลักษณ์

การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ countersink และ counterdrill โดยใช้สัญลักษณ์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การให้ขนาดรูเจาะขยายแบบ countersink และ counterdrill โดยใช้สัญลักษณ์

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปฏิบัติการครั้งที่ 1

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1. ภาพแรกเป็นการให้ขนาดที่ไม่เหมาะสม จงให้ขนาดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมลงในภาพด้านข้างโดยใช้ขนาดตามภาพแรก

10 70 32 80

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2. ภาพด้านแรกเป็นการให้ขนาดที่ไม่เหมาะสม จงให้ขนาดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมลงในภาพด้านข้างโดยใช้ขนาดตามภาพแรก

Sheet pp.52-54 Scale 1:2 Scale 1:2

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. จงให้ขนาดแบบชิ้นส่วนนี้

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการบรรยายครั้งที่ 2