สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 1/2562 จังหวัดสมุทรปราการ 24 – 26 ธันวาคม 2561 คณะที่ 1 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ
คณะที่ 1 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ ประเด็น ตัวชี้วัด 1. การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราส่วนการตายมารดาไทย ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและกลุ่มวัยรุ่น ตัวชี้วัดที่ 3 อัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15-19 ปี 3. การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละตำบลที่มีระบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ 4. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ Green & Clean Hospital ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของจังหวัดที่มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ตัวชี้วัดที่ 7 อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตรากลุ่มเสี่ยงป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ตัวชี้วัดที่ 9 บุหรี่ : โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน
อัตราส่วนการตายมารดา 1. อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 17: 100,000 เกิดมีชีพ ที่มา: สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 18 ธันวาคม 2561 สาเหตุการตายมารดาปี 2557-2561 ที่มา MCHB 19 กันยายน 2561
อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 17:100,000 การเกิดมีชีพ มารดาไทยตาย 1 ราย (30 ต.ค.61): PPH การตายมารดาจากสาเหตุตกเลือด ลดลงจากปี 61 ร้อยละ 0.11 ไม่พบสาเหตุการตายมารดาจากความดันโลหิตสูง และสาเหตุทางอ้อม ปี 2561 หญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง พบว่า มีความเสี่ยง ร้อยละ 10.54 ได้รับการดูแล และส่งต่อ ภาวะเสี่ยงที่พบมากที่สุด 5 อันดับ (จากโรคอายุรกรรม) 1)โรคหัวใจ 2)ความดันโลหิตสูง 3)ไทรอยด์ 4)เบาหวาน 5)ธาลัสซีเมีย เป้าหมาย 1 ตำบล 1 อำเภอแม่และเด็ก : พัฒนาทุกอำเภอ อำเภอ เมืองสมุทรปราการ บางพลี บางบ่อ พระประแดง พระสมุทรเจดีย์ บางเสาธง ตำบล บางเมือง **บางพลีใหญ่ เปร็ง บางน้ำผึ้ง คลองสวน ศีรษะจรเข้น้อย
กลไก PNC (Provincial Network Classification)ขับเคลื่อนการพัฒนางานมารดาและทารก แผนติดตาม ทบทวนCPG : Preterm และ ANC คุณภาพทุกระดับ ความเข้มแข็งทีมแม่และเด็ก สร้างการมีส่วนร่วมและบูรณาการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ข้อค้นพบ ประสานความร่วมมือเครือข่ายพัฒนาระบบบริการมารดาและทารก โดยจัดเวทีวิชาการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพงานแม่และเด็ก เพื่อจัดการปัญหาการเสียชีวิตมารดาและทารก เครือข่ายภาครัฐและเอกชน จังหวัดสมุทรปราการ สนับสนุนประสานการมีส่วนร่วมการจัดการนวัตกรรมการเฝ้าระวังและการสื่อสาร ในพื้นที่ โอกาสพัฒนา
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาการเด็ก ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาการเด็ก ตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับเขต ปีงบประมาณ 2559-2561 66.9 51.2 50.0 ที่มา: HDC ต.ค. 2561 (ณ วันที่ 12 ธ.ค. 2561)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาการเด็ก ตามเกณฑ์มาตรฐาน (ต่อ) ร้อยละเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ระดับเขต ปีงบประมาณ 2560-2561 เฝ้าระวัง : อ.พระสมุทรเจดีย์ - การจัดการเด็กที่มีภาวะ ทุพโภชนาการ โดยติดตาม และให้คำแนะนำปรับพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ดูแลเด็ก เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 54
ข้อค้นพบ โอกาสพัฒนา สนับสนุนการจัดการนวัตกรรมในพื้นที่ ขับเคลื่อนขยายผลการใช้ App.DSPM บางด้วน เป้าหมาย อ.เมือง อ.พระประแดง ข้อค้นพบ สื่อสาร ขับเคลื่อนนโยบายลงพื้นที่ และติดตามข้อมูลการจัดการภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก แบบอย่าง - ความเข้มแข็งทีมขับเคลื่อนการดำเนินงานทุกระดับ - พัฒนาศักยภาพ รพ.สต.ในการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I ได้ สนับสนุนการจัดการนวัตกรรมในพื้นที่ สนับสนุนให้ รพ.สต.ที่สามารถกระตุ้น TEDA4I ลงบันทึกข้อมูลในระบบได้ โอกาสพัฒนา
เด็กอายุ 6 เดือน-5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก ที่มา: HDC ณ วันที่ 12 ธ.ค.2561 จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 6 ด.- 2 ปี (เฉพาะ EPI) ผลการเจาะ Hct (5 คน) (3 คน) (3 คน) (11 คน)
ขับเคลื่อนขยายผลการใช้ App.DSPM บางด้วน อ.เมือง อ.พระประแดง สื่อสาร ขับเคลื่อนนโยบายลงพื้นที่ และติดตามข้อมูลการจัดการภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก แบบอย่าง - ความเข้มแข็งทีมขับเคลื่อนการดำเนินงานทุกระดับ - พัฒนาศักยภาพ รพ.สต.ในการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I ได้ ข้อค้นพบ สนับสนุนการจัดการนวัตกรรมในพื้นที่ สนับสนุนให้ รพ.สต.ที่สามารถกระตุ้น TEDA4I ลงบันทึกข้อมูลในระบบได้ โอกาสพัฒนา
อัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15-19 ปี 3. อัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 38 : หญิง 15-19 ปีพันคน 100.00 100.00
ถอดบทเรียนการฝังยาคุมกำเนิดในพยาบาลวิชาชีพเขตสุขภาพที่ 6 (เข้ารับการอบรมปี 2561) มีแผนการประชุมและขับเคลื่อนการดำเนินการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ม.ค.62) มีระบบติดตามดูแลช่วยเหลือ นร. โดยพัฒนาเชื่อมโยงระบบการดูแลช่วยเหลือระหว่าง รร. กับหน่วยงาน สธ. และคัดเลือก รร.ต้นแบบเข้าร่วมโครงการ (OHOS) 1 รร. 1 รพ. ข้อค้นพบ มีแผนดำเนินการวิจัยเรื่องการขับเคลื่อนพรบ.ฯ ร่วมกับ ศอ.6 อ.พระสมุทรเจดีย์ ขยาย Teen Manager และ Parent Education and Training ร่วมกับโรงเรียนและชุมชน ครอบคลุม 6 อำเภอ ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ในระดับพื้นที่ผ่าน คกก.พชอ. การให้คำปรึกษาและการเข้าถึงบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร การสร้างการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน พรบ.ฯ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในระดับพื้นที่ โอกาสพัฒนา ขยายพื้นที่พัฒนาเชื่อมโยงระบบการดูแลช่วยเหลือระหว่าง รร. กับ หน่วยงาน สธ. และ อปท.
ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) 4. ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) ที่มา : รายงานข้อมูลโครงการ Long Term Care เดือนพฤศจิกายน 2561
ข้อค้นพบ โอกาสพัฒนา ผ่านเกณฑ์ LTC ร้อยละ 70 สามารถระดมทุนในการพัฒนางาน ผสอ. ได้จากแหล่งทุนหลากหลาย อ.บางบ่อ ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ยังไม่ดำเนินการ Care plan และ ชมรม ผสอ.ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ การทำกิจกรรมยังไม่ต่อเนื่อง ข้อค้นพบ ติดตามการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาชมรม ผสอ.ให้ผ่านเกณฑ์ ผสอ.ติดสังคม ร้อยละ 97.67 เน้นสร้างความเข้มแข็งให้กับชมรม ผสอ. ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ โอกาสพัฒนา
ร้อยละของ รพ.ที่พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับดีมาก 5. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับดีมาก ที่มา : DOH Dashboard กรมอนามัย 5 ก.ย.61 ร้อยละของ รพ.ที่พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับดีมาก ที่มา : DOH Dashboard กรมอนามัย (ข้อมูลจาก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย) 18 ธ.ค.61
ข้อค้นพบ โรงพยาบาลที่ประสบผลสำเร็จ เกิดจากการร่วมมือร่วมใจของทีมงานและการให้ความสำคัญอย่างมากของผู้บริหาร โรงพยาบาลในพื้นที่ มีนวัตกรรมเพื่อลดโลกร้อนมากกว่าทุกจังหวัดในเขต หน่วยบริการสามารถพัฒนางานด้านอาหารปลอดภัย และอาชีวเวชศาสตร์เพื่อก้าวสู่ระดับดีมาก plus ค้นหา Health Leader ในพื้นที่ เพื่อขยายงาน Green and Clean Hospital ลงสู่ชุมชน โอกาสพัฒนา
6. ระดับความสำเร็จของจังหวัดในการพัฒนามีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ ( SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ขั้นตอน 1 :ผู้บริหาร (ผชชว.ผชชส.ผอ.รพศ./รพท.) และหัวหน้ากลุ่มภารกิจทุกคนผ่านการอบรมหลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร(5 ท่าน ยังไม่ผ่านฯ 4 ท่าน) : ทีม SAT : เฝ้าระวัง ตรวจจับ และประเมิน สถานการณ์การเกิดโรคและภัยสุขภาพ : มีตารางปฏิบัติงานของทีม SAT รายสัปดาห์ทั้งปีแต่มีรายชื่อที่ซ้ำกัน : มีการจัดทำ spot report : จัดทำรายชื่ออัตรากำลัง (Surge capacity plan) ตามระดับความรุนแรงของภาวะฉุกเฉิน : ICS Activate EOC : ซ้อมแผน (IAP) 1. พัฒนาผู้บัญชาการเหตุการณ์ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน(EOC) ระดับจังหวัด 2. เตรียมการเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์ระดับจังหวัด และจัดอัตรากำลัง 3. ซ้อมแผนและการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) เน้น IAP : วิเคราะห์ระดับความเสี่ยง RRA RNA ขั้นตอน 2 ขั้นตอน 3 ICS = Incident Commander System ระบบบัญชาการเหตุการณ์ RRA = Rapid Risk Assessment การประเมินความเสี่ยงอย่างเร็ว RNA = Rapid Need Assessment การประเมินความต้องการอย่างเร็ว Activate EOC การเปิดศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ IAP = Incident Action Plan แผนเผชิญเหตุ Surge capacity plan แผนการจัดอัตรากำลัง ขั้นตอน 4 ขั้นตอน 5
1.ผู้บริหาร (ผชชว.ผชชส.ผอ.รพศ./รพท.) ยังไม่ผ่านการอบรมหลักสูตร ICS ข้อค้นพบ 2.จัดตั้งทีมตระหนักรู้ฯในการเฝ้าระวังและประเมินเหตุการณ์ มีการประเมินความเสี่ยงจากเหตุการณ์หรือภัยต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งภาวะปกติและฉุกเฉิน 3.สามารถจัดการปัญหาฉุกเฉินกรณีสงสัยผู้ป่วย MERs ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข) 1.สคร.ประสาน&สนับสนุนให้เข้าร่วมอบรม ICS ของ กรม คร. วันที่ 16-17 ม.ค.62 โอกาสพัฒนา 2.ควรจัดทีม SAT เป็น จนท.จากทุกกลุ่มฯ/หน่วยประจำสัปดาห์ หากไม่มีเหตุการณ์ก็สรุปเป็น Zero report เสนอต่อผู้บังคับบัญชา 3.ควรให้ความสำคัญและบริหารจัดการ Human Resource ในการจัดทำ Surge capacity plan ในกรณีภาวะฉุกเฉินในแต่ละระดับความรุนแรง
7. อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HBPM) > ร้อยละ 30 ร้อยละการคัดกรอง DM/ HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้น จ.สมุทรปราการ ปีงบประมาณ 2561 ปี 2561 ทุกอำเภอคัดกรองเบาหวาน (DM) ได้ต่ำกว่าเป้าหมาย อำเภอที่มีการคัดกรองได้น้อยที่สุด คือ อ.บางพลี และ อ.เมืองสมุทรปราการ (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90) ร้อยละการคัดกรอง DM ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ไตรมาสที่ 1 (ปี 2561 และ ปี 2562) ร้อยละการคัดกรอง HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ไตรมาสที่ 1 (ปี 2561 และ ปี 2562) ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 21 ธ.ค.2561
7. อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HBPM) > ร้อยละ 30 อัตรากลุ่มเสี่ยง DM ในปีที่ผ่านมา ได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ จ.สมุทรปราการ ปีงบประมาณ 2561 อัตรากลุ่มเสี่ยง DM ในปีที่ผ่านมา ได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ จ.สมุทรปราการ ไตรมาส 1 (ปี 2561 และ ปี 2562) (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90) อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จ.สมุทรปราการ ปีงบ 2561 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จ.สมุทรปราการ ไตรมาส 1 (ปี 2561 และ ปี 2562) (เป้าหมาย < ร้อยละ 2.40) (เป้าหมาย < ร้อยละ 2.05) ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 21 ธ.ค.2561
7. อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HBPM) > ร้อยละ 30 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันที่บ้าน (HBPM) จ.สมุทรปราการ ปีงบประมาณ 2561 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันที่บ้าน (HBPM) จ.สมุทรปราการ ปีงบประมาณ 2562 (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 10) ร้อยละของผู้ป่วย HT รายใหม่ จากผู้ป่วยสงสัยทำ HBP จ.สมุทรปราการ ปีงบประมาณ 2561 ยังไม่พบ ข้อมูลใน HDC ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 21 ธ.ค.2561
อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 7. อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HBPM) > ร้อยละ 30 ข้อค้นพบ การคัดกรองในประชากรกลุ่ม เป้าหมายยังมีจำนวนน้อยกว่าปี 2561 เมื่อเทียบในไตรมาส เดียวกัน - จังหวัดมีแผนพัฒนางานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและพัฒนา NCD Clinic Plus โอกาสพัฒนา - เร่งรัดการคัดกรองในอำเภอที่ยังดำเนินการได้น้อย เช่น อ.บางพลี และ อ.เมืองสมุทรปราการ - ทำพื้นที่ต้นแบบ (BRFSS) โดยให้มีการสำรวจพฤติกรรมเรื่องโรคไม่ติดต่อ เพื่อเป็นข้อมูลนำสู่แนวทางปรับเปลี่ยน ตามบริบทของพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการเอง
อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 7. อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM < ร้อยละ 2.05 อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HBPM) > ร้อยละ 30 ข้อค้นพบ ข้อค้นพบ เกิดปัญหาการเข้าระบบตรวจสอบข้อมูลในสถานบริการบางแห่ง มีปัญหาการเข้าระบบตรวจสอบข้อมูลในสถานบริการบางแห่ง - จังหวัดมีแผนพัฒนาระบบข้อมูล HDC ร่วมกับ งานระบาดวิทยา โอกาสพัฒนา โอกาสพัฒนา -ควรตรวจสอบข้อมูล ใน DATA exchange อย่างสม่ำเสมอ และบูรณาการร่วมกับทีมเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน
ปี 2561 DM / HT ที่ควบคุมได้น้อยกว่าเกณฑ์ในทุกอำเภอ 8. ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ อัตราผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ จ. สมุทรปราการ ปี 2561 อัตราผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ จ. สมุทรปราการ ปี 2562 DM ≥ ร้อยละ 40 HT > ร้อยละ 50 DM ≥ ร้อยละ 40 HT > ร้อยละ 50 ปี 2561 DM / HT ที่ควบคุมได้น้อยกว่าเกณฑ์ในทุกอำเภอ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 22 ธ.ค.2561
ผลการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus จ.สมุทรปราการ ปี 2561 ผลการประเมินตนเองรายสถานบริการสาธารณสุข ลำดับ หน่วยบริการ (CUP) เล็ก (F2,F3) กลาง (F1,M1,M2) ใหญ่ (A) part 1 กระบวนการ (50คะแนน) part 2 ผลลัพธ์ (50 คะแนน) รวม 100 คะแนน ระดับ 1 รพ.สมุทรปราการ / 33.00 24.60 57.60 ต่ำกว่าพื้นฐาน 2 รพ.บางพลี 39.40 20.00 59.40 3 รพ.บางบ่อ 33.20 21.20 54.40 4 รพ.พระประแดง(บางจาก) 40.80 25.20 66.00 พื้นฐาน 5 รพ.พระสมุทรเจดีย์ 32.60 28.00 60.60 6 รพ.บางเสาธง 15.60 43.60 รวมคะแนนเฉลี่ยภาพรวม 6 รพ. (กระบวนการ+ผลลัพธ์) 32.43 24.50 56.93 ปี 2562 จังหวัดควรยกระดับให้สถานบริการผ่านเกณฑ์ทุกแห่ง โดยการจัดทำแผน/กิจกรรม
ผลการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus จ.สมุทรปราการ ปี 2561 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ที่มีความเสี่ยงต่อการไม่บรรลุเป้าหมายในปี 2562 - DM/HT ควบคุมได้ - ไขมัน LDL / อ้วนลงพุง - DM/HT คัดกรองไตเรื้อรัง ผลการประเมิน ส่วนที่ 2 ผลลัพธ์ตัวชี้วัดบริการ (15 ตัวชี้วัด) จ.สมุทรปราการ ปี 2561 11 ตัวชี้วัด ที่ไม่บรรลุตามเป้าหมาย ในปี 2561 - DM/HT ขึ้นทะเบียนรับการรักษาในพื้นที่ - DM/HT ควบคุมได้ - คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทางตา ทางเท้า - DM ได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ - ไขมัน LDL / อ้วนลงพุง - DM/HT คัดกรองไตเรื้อรัง องค์ประกอบ ที่ต้องพัฒนา ทุกองค์ประกอบ (6) ต้องพัฒนาต่อเนื่อง โดยเฉพาะ -องค์ประกอบที่ 4 ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง -องค์ประกอบที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
8. ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ข้อค้นพบ จังหวัดขาดการจัดทำแผนยกระดับในการดำเนินการ NCD Clinic Plus - จังหวัดควรมีแผนการดำเนินการคืนข้อมูลให้เครือ ข่ายระดับ อำเภอ และ รพสต. โดยเฉพาะเครือข่ายภายนอก สาธารณสุข เพื่อช่วยขับเคลื่อนการ ดำเนิน งาน เช่น อปท. ภาคประชาสังคม ฯลฯ โอกาสพัฒนา - ควรจัดทำแผนยกระดับ ในทุกสถานบริการ โดย เลือกจัด ทำ 3 ลำดับที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ในไตรมาส 2
8. ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ การควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตสูง ในอำเภอ บางพลี และอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา ข้อค้นพบ - จังหวัดปรับแผน โดยเสริมการดำเนินการ อำเภอละ 1 พื้นที่ ในการ ทำต้นแบบ ที่นำ 4 Interventionและติดตามประเมินผล เป็นพี่เลี้ยงให้ โอกาสพัฒนา - เร่งรัดให้ทุกอำเภอ ดำเนินการภายในไตรมาส 2 และติดตามอย่างต่อเนื่อง 4 Intervention ได้แก่ 1.สนทนาสร้างแรงจูงใจ 2.การบริโภคอาหารที่เหมาะสม 3.โปรแกรมการป้องกันเบาหวานโดยชุมชน 4.การวัดความดันโลหิตที่บ้าน -นำ 4 Intervention ที่จัดอบรมให้ในอำเภอเสี่ยงสูง ไปดำเนินการ อย่างน้อย 2 Intervention ต่ออำเภอ
บุหรี่ : โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย 9. บุหรี่ : โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน ร้อยละการคัดกรองการบำบัดบุหรี่ จ.สมุทรปราการ (Special pp) Quick win 33.33 ผลการดำเนินโครงการ เป้าหมาย 24,333 คน จัดทำแผนการถ่ายทอดนโยบาย แนวทาง และองค์ความรู้ให้กับผู้รับผิดชอบงาน สุขภาพภาคประชาชน ข้อค้นพบ การดำเนินงานรณรงค์ ค้นหา และบำบัดผู้สมัครใจเลิกบุหรี่ ในโรงงาน และ โรงเรียน
มีการชักชวนให้ อสม. เป็นต้นแบบในการเลิกสูบบุหรี่ และ อสม มีการชักชวนให้ อสม.เป็นต้นแบบในการเลิกสูบบุหรี่ และ อสม.มีการดำเนินการ สำรวจ ค้นหาผู้สูบบุหรี่ ขอให้เข้าร่วมโครงการฯ ข้อค้นพบ อสม. ส่งรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านแบบ อสม.1 ให้ รพ.สต. เพื่อเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษา การจัดสรร spray หญ้าดอกขาว ให้กับหน่วยบริการ ตามผลการรายงานผู้สมัครใจเลิกบุหรี่จากฐานข้อมูล HDC
การจัดประชุมผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามตัวชี้วัด เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานทั้งในระดับจังหวัด และอำเภอ โอกาสพัฒนา สร้างความเข้าใจ และการเห็นความสำคัญในการคีย์ข้อมูลในข้อมูล HDC ให้กับผู้รับผิดชอบในหน่วยบริการ การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เข้ามามีส่วนในการดำเนินการชักชวนผู้สูบบุหรี่ให้เข้าร่วมโครงการ
การขยายพื้นดำเนินงานโดยอาศัย รูปแบบการมีส่วนร่วมของโรงงานในการเป็นสถานประกอบการต้นแบบ และโรงเรียนต้นแบบ (โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ) โอกาสพัฒนา การสนับสนุนพัฒนานวตกรรมด้าน การแพทย์แผนไทย”ยาต้มเฉพาะราย” สำหรับช่วยในการบำบัดผู้สูบบุหรี่ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดสลุด ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี