งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1

2 เป้าหมายประเทศ : ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายระดับจังหวัด : ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 2 มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง

3 Success จังหวัดตาก EOC ระดับจังหวัดซ้อมแผนหรือยกระดับเปิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด จัดตั้งทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดภารกิจปฏิบัติการ(Operation Section) ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร 5 4 3 2 1

4 สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
การดำเนินงานของจังหวัดตากเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 1. ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหารอย่างน้อยจังหวัดละ 2 คน - นพ.สสจ. และผชชว. IC : มีการเปิดบัญชาการเหตุการณ์จริง ยกระดับEOC -ไข้เลือดออก (21 มิ.ย.61) การให้ภารกิจอื่นๆ ตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างEOC จังหวัด เข้ามาร่วมปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ตนเอง 2. จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดในส่วนภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) เพื่อปฏิบัติการในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - คำสั่ง MERT, EMS, MCAT, CDCU การจัดตั้งทีม CDCU ให้มีคุณสมบัติ ตาม พรบ.โรคติดต่อพ.ศ.2558

5 สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
การดำเนินงานของจังหวัดตากเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 3. จัดทีม SAT ระดับจังหวัด (ภาวะปกติอย่างน้อย 3 คน และภาวะฉุกเฉิน 4 คน) และ 50% - ผ่านการฝึกอบรมตามแนวทาง SAT - SAT จังหวัดไป OJT 3 คน ที่สคร.2 พล - SATวิเคราะห์สถานการณ์เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและเสนอนพ.สสจ. พิจารณาเพื่อยกระดับ EOC ไข้เลือดออกวันที่ 21 มิ.ย.61 - การเรียนรู้ร่วมกันไม่แยกส่วนของ SAT ในด้านอื่นๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม การบาดเจ็บทางการจราจร เพื่อให้มีประสบการณ์หลากหลาย 3.1. จัดทำ Outbreak Verification list ทุกสัปดาห์ - 1 ม.ค.- 31 ก.ค.61 (31สัปดาห์) จำนวน 24 ฉบับ - - การจัดทำบันทึกสรุปรายงานนำเสนอผู้บริหาร และแจ้งให้ระดับอำเภอเพื่อใช้ประโยชน์จากการเฝ้าระวังฯ - สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังตามเกณฑ์ทุกสัปดาห์หากไม่มีให้สรุปเป็น zero report 3.2. จัดทำ Spot Report ได้ตามเงื่อนไข CIRและเวลาที่กำหนด - ร้อยละ 100 (39/39 เหตุการณ์) - พัฒนาระดับอำเภอสามารถแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติและรายงานเป็น spot report ทุกอำเภอ การเขียนเนื้อหาใน spot report ได้ครบถ้วน - SAT จัดทำบันทึกข้อความนำเสนอผู้บริหาร เพื่อสั่งการอย่างเป็นทางการ - การเขียนข้อเสนอแนะของระดับจังหวัดให้ชัดเจน เช่น มอบใคร ระดับอำเภอหรือจังหวัด ดำเนินการ เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ

6 การดำเนินงานของจังหวัดตาก สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 4. วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด -โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ โปลิโอ - -การเขียนรายงาน:ประเมินความเสี่ยงโรคที่สอดคล้องกับปัญหาในช่วงสัปดาห์นั้นๆพร้อมเสนอผู้บริหารเพื่อให้พิจารณาข้อสั่งการ 5. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ - ซ้อมแผนโปลิโอ Activate EOC เท้าช้าง หมอกควัน ไข้เลือดออก และ 5 อำเภอ(เมือง แม่สอด พบพระ อุ้มผาง และแม่ระมาด) มีการเขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP:Polio) ส่งไฟล์ภายในวันที่ 6 ส.ค. 61 - คุณภาพการเปิด EOC และการใช้แผนเผชิญเหตุ ในระดับจังหวัดและอำเภอ - เขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP) เพื่อใช้กำกับ การระดมทรัพยากร ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรค ไม่เกิน second generation - AAR EOC ไข้เลือดออก

7 ข้อชื่นชม จังหวัดพัฒนาระดับอำเภอให้สามารถแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติ และรายงานเป็น spot report ทุกอำเภอ ข้อเสนอแนะ การพัฒนาศักยภาพทีม SAT ของสสจ.ที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการได้อย่างบูรณาการและเป็นเอกภาพ AARการ activate EOC ระดับจังหวัด และอำเภอ


ดาวน์โหลด ppt 1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google