หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
R2R and B2B: a Successful Experience
Advertisements

ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล อาจารย์แพทย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
MEDICAL RESPONSE TO MAJOR INCIDENTS (MRMI)
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
Family assessment and Home health care
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประเมินผู้ป่วยและครอบครัว ในการดูแลระยะยาว
ประเด็น แหล่งทุน โครงการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุ วช.
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
Risk Management System
นโยบายด้านกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx)
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
Ramathibodi Education System
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
กฎหมายการศึกษาไทย.
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
รายงานสรุปผลการพัฒนา
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ.
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
Public Health Nursing/Community Health Nursing
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
สร้างเครือข่ายในชุมชน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้เรียน หลักสูตรที่มุ่งผู้เรียนและผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ความต้องการของระบบสุขภาพ เป้าหมายการศึกษา ความต้องการของสถาบัน มาตรฐานวิชาชีพแพทยสภา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ผลสัมฤทธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร ผู้เรียน สมรรถนะของผู้เรียน ระบบการรับฟัง และการประเมิน ประสบการณ์และการเรียนรู้ ทรัพยากรการเรียนรู้

เป้าหมายของหลักสูตร (Program Goals) จัดการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติงานในฐานะแพทย์ที่มีศักยภาพการ ทางานได้หลายบทบาท คือ แพทย์นักวิชาการ-นักวิจัย แพทย์ผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรม และแพทย์ผู้จัดการด้านสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการพัฒนา ตนเองให้ทันสมัยในวิชาชีพแพทย์และประพฤติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ แพทย์อย่างสม่ำเสมอ และมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร (Program Objectives) จัดการศึกษาเพื่อให้แพทยศาสตรบัณฑิต มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ (วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการ ฯลฯ และสามารถใช้ความรู้เหล่านี้ในบทบาทที่ หลากหลาย เพื่อปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ให้มีประสิทธิผล 2. ใช้ความรู้ดังกล่าวในบทบาทแพทย์นักวิชาการ-นักวิจัย เพื่ออธิบาย ตอบโจทย์ปัญหา แก้ปัญหา และพัฒนางานที่รับผิดชอบเพื่อประโยชน์แก่สังคม โดยการสร้างความรู้หรือทางเลือกใหม่ในด้านการดูแลสุขภาพ 3. ใช้ความรู้ดังกล่าวในการเป็นแพทย์ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ซึ่งมีความสามารถในการทำเวชปฏิบัติและทำหัตถการทางการแพทย์ได้ในระดับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป เพื่อดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมได้ตามมาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร (Program Objectives) 4. มีพฤตินิสัยในการรักษาจรรยาบรรณและจริยธรรมในวิชาชีพ เพื่อความ เชื่อมั่นของผู้ป่วยต่อตนเองในฐานะแพทย์และความเชื่อมั่นของประชาชน ต่อวิชาชีพแพทย์ 5. สร้างสัมพันธภาพระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย และระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อการทำเวชปฏิบัติที่ปลอดภัย มีคุณภาพ และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นสำคัญ 6. มีทักษะในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เพื่อให้มีความรู้และทักษะใน วิชาชีพแพทย์ที่ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต

ปรัชญาการศึกษา หลักสูตรมุ่งผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ (Outcome-Based Education) โดยยึด การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student-Centered Education) กระตุ้นให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้หรือสร้างความรู้ด้วยตนเองซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน โดยที่ผู้เรียนนำประสบการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นหรือสารสนเทศใหม่ที่ได้รับมาเชื่อมโยงกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม เพื่อสร้างเป็นความเข้าใจของตนเอง (Constructivism) และส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต (Life-Long Learning)

ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (Program-level Learning Outcomes, PLOs) 1. Medical Science 5. Communication 7. Self & Teamwork 3. Health System 2. Patient Care 4. Professionalism 6. Research Mind

โครงสร้าง หลักสูตร ๒๕๖๒

Ramathibodi New Curriculum Framework Interprofessional Education (IPE) Introduction to Clinical Clerkships General Education to Medical Profession Basic Clinical Medicine Introduction to Research Life Cycle’s Block Rotation Introduction to Research Selective & Elective Clinical Foundation Medicine” Early Clinical Exposure (ECE) Clinical & Procedural Skills Critical Care System-based Clinical correlation Community Medicine Chronic diseases Palliative Care Community Medicine 1 2 3 4 5 6 Pre-Med Pre-Clinic Clinic Research, Innovation & EBM Research Proposal Research, Innovation & EBM Research Presentation Longitudinal Course: Clinical Foundation Medicine (Patients Safety), Teamwork & Leaderships, Longitudinal Ambulatory Experience Mentoring System Extracurricular Activities

แหล่งการเรียนรู้ 1 2 3 4 5 6 มหิดล ศาลายา คณะวิทยาศาสตร์ มหิดล Pre-Med Clinic Pre-Clinic 1 2 3 4 5 6 มหิดล ศาลายา คณะวิทยาศาสตร์ มหิดล โรงพยาบาลรามาธิบดี (พญาไท) โรงพยาบาลสมทบ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ แหล่งการเรียนรู้

Links ที่อยากให้คุณได้เข้าไปดู รักในความเป็นหมอ ที่ได้ทำเพื่อคนอื่นhttps://med.mahidol.ac.th/cnmi/news/announcement/11082018-1212-th วิดีทัศน์แนะนำสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล https://www.youtube.com/watch?v=unq37WQIUxk สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ https://www.youtube.com/watch?v=NAu5-pJemG4 CNMI https://www.youtube.com/watch?v=SMiJo1yKY9I Campus Life https://med.mahidol.ac.th/cnmi/Student