บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
งานนำเสนอ ชนิดของบทเรียนสำเร็จรูป โดย นางสาวอภิรดี ศรีจันทะ รหัส กศ. บ
Relation and function - Good morning students. - How are you today?
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 Probability.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกระบอก.
โดยคณะวิทยากร (สสวท. ครูและคณาจารย์)
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
Plant layout Design.
การจัดการการ ขนส่ง เป้าหมายของการจัดการ การขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้แก่ลูกค้า 4) เพื่อลดระยะเวลา.
ก า ร บ ก ว.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. การให้เหตุผลแบบ อุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผล จากการสังเกตหรือการทดลองเพื่อค้นหาความ.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
พื้นที่ผิวของพีระมิด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
C#: Windows Forms App.
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
ความดัน (Pressure).
รูปหลายเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันมีลักษณะอย่างไรข้อใด มีความยาวของเส้นรอบรูป และมีพื้นที่เท่ากัน มีรูปร่างเหมือนกัน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
เศษส่วนและทศนิยม.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
สื่อประกอบการเรียนการสอน
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส กิจกรรม ลองทำดู คำสั่ง : กำหนดให้ a, b และ c เป็นความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยม ABC ซึ่งใน แต่ละข้อได้กำหนดความยาวไว้ดังรูป ให้นักเรียนทำกิจกรรมต่อไปนี้และเขียน คำตอบเติมลงในตาราง 1) หาค่า a2, b2 และ c2 และพิจารณาว่าในแต่ละข้อข้อใดมีความสัมพันธ์ที่เป็น a2 + b2 = c2 2) วัดขนาดของมุม ACB และพิจารณาว่ารูปสามเหลี่ยมในข้อใดเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก

            ข้อที่ a b c a2 + b2 c2 a2 + b2 = c2 หรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ข้อที่ a b c a2 + b2 c2 a2 + b2 = c2 หรือไม่ ∆ABC เป็น ∆ มุมฉากหรือไม่ เท่า ไม่เท่า เป็น ไม่เป็น 1 6 8 10   2 12 13 3 9 15 4 16 20 5 7 14 6.5 8.5  100  100    180  169    225  225    400  400    218  196    58.25  72.25  

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส 1. รูปสามเหลี่ยมทุกรูปที่มีความสัมพันธ์ของความยาวของด้านเป็น c2 = a2 + b2 เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใช่หรือไม่ ใช่ ......................................................................................................................... 2. รูปสามเหลี่ยมที่มีความสัมพันธ์ของความยาวของด้านเป็น c2 = a2 + b2 มีด้านใดยาวที่สุด ด้าน c ......................................................................................................................... 3. จากกิจกรรมข้างต้น นักเรียนสามารถบอกได้หรือไม่ว่าด้านทั้งสามของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย ......................................................................................................................... แล้ว c2 = a2 + b2 จะได้ว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ......................................................................................................................... โดยมีด้านที่ยาวที่สุดเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก ..........................................................................................................................

A c b c2 = a2 + b2 C a B ผลที่ได้ในกิจกรรมข้างต้น บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ผลที่ได้ในกิจกรรมข้างต้น สำหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากำลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้าน แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก สรุปได้ว่า A c b c2 = a2 + b2 C a B ซึ่งเรียกว่า บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส

c2 = a2 + b2 A c b C a B ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัส A B C a c b สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก c2 = a2 + b2

ซึ่งเรียกว่า บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส A B C a c b สำหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากำลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้าน c2 = a2 + b2 แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งเรียกว่า บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส เช่น กำหนดความยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมต่างๆ มาให้จงหาว่ารูปสามเหลี่ยมนี้เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 1 6, 8, 10 2 4, 6, 8 102 = 62 + 82 82 ≠ 42 + 62 100 = 36 + 64 64 ≠ 16 + 36 100 = 100 64 ≠ 52 รูปสามเหลี่ยมนี้เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมนี้ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส P. 112 Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem Determine whether the following sets of three numbers are Pythagorean Triples. Show your work and write yes or no for each set of numbers. a) b) 8, 15, 17 15, 20, 25 172 = 82 + 152 252 = 152 + 202 289 = 64 + 225 625 = 225 + 400 289 = 289 625 = 625 yes yes

Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส P. 112 Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem Determine whether the following sets of three numbers are Pythagorean Triples. Show your work and write yes or no for each set of numbers. c) d) 20, 48, 52 2, 9, 11 522 = 202 + 482 112 ≠ 22 + 92 2,704 = 400 + 2,304 121 ≠ 4 + 81 2,704 = 2,704 121 ≠ 85 yes no

Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส P. 112 Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem Determine whether the following sets of three numbers are Pythagorean Triples. Show your work and write yes or no for each set of numbers. e) f) 7, 24, 25 12, 35, 37 252 = 72 + 242 372 = 122 + 352 625 = 49 + 576 1,369 = 144 + 1,225 625 = 625 1,369 = 1,369 yes yes

Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส P. 112 Exercise 3 Converse Pythagoras’Theorem Determine whether the following sets of three numbers are Pythagorean Triples. Show your work and write yes or no for each set of numbers. g) 13, 84, 85 852 = 132 + 842 7,225 = 169 + 7,056 7,225 = 7,225 yes

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 1 752 = 212 + 722 A B   C 75 72 21 5,625 = 441 + 5,184 5,625 = 5,625 ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 2 9 A 12   16 B C D BC2 = 122 + 162 = 144 + 256 20   = 400 BC = 20 25  

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 2 9 A 12   16 B C D AC2 = 92 + 122 = 81 + 144 20   15   = 225 AC = 15 25  

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 2 9 A 12   16 B C D 252 = 152 + 202 625 = 225 + 400 20   15   625 = 625 ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 25  

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 3 36 A 48   64 B C D BC2 = 482 + 642 = 2,304 + 4,096 80   = 6,400 BC = 80 100

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 3 36 A 48   64 B C D AC2 = 362 + 482 = 1,296 + 2,304 80   60   = 3,600 AC = 60 100

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ 3 36 A 48   64 B C D 1002 = 602 + 802 80   10,000 = 3,600 + 6,400 60   10,000 = 10,000 ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 100

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ B A C D 20 33 56 4 BC2 = 202 + 332 = 400 + 1,089 = 1,489 BC = 76

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ B A C D 20 33 56 4 AC2 = 332 + 562 = 1,089 + 3,136 65 = 4,225 AC = 65 76

จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส จงแสดงว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่ B A C D 20 33 56 4 762 = + 652 5,776 = 1,489 + 4,225 65 5,776 = 5,714 ∆ABC ไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 76