กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา ภ.ก.สมชาย ละอองพันธุ์ 086-6940954

ภาพรวมเงิน UC ปี 61 กองทุนย่อย ไต ลอกต้อ อบจ. ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ส่งเสริมป้องกัน** กองทุนย่อย ส่งเสริมป้องกันระดับชาติ(PP_nation) ไต ส่งเสริมป้องกันระดับเขต PP_A (4บ./ปชก.) ลอกต้อ ส่งเสริมป้องกันในหน่วยงานสาธารณสุข(PP_Basic) (360บ.) ส่งเสริมป้องกัน_ชุมชน** 45 บ./ปชก. กองทุนดูแล ผู้สูงอายุ ฯ กองทุนฟื้นฟู 16บ./ปชก. อปท. สมทบ 30-60% อบจ. สมทบ 100%

การเบิกจ่ายเงินกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2561

การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายผ่านกองทุนสุขภาพตำบลเป็นฐาน Health care (จัดบริการ) PCC ขับเคลื่อนพอประมาณ DHB(พชอ.) นำร่องดำเนินการ 23 อำเภอ นโยบายขับเคลื่อนทุกแห่งอำเภอ LTC ปี 59 :101 แห่ง 1913 คน ปี 60 :115 แห่ง เพิ่ม 3696 คน ปี 61: Health promotion(ส่งเสริมสุขภาพ) Health policy(นโยบายสุขภาพ) บรูณาการอาหารใน ศพด.-ท้องถิ่น จ.สงขลา 100 แห่ง ต้นแบบธรรมนูญสุขภาพ 3 แห่ง ขับเคลื่อนตั้งคณะทำงานและร่างธรรมนูญ 33 แห่ง(8 แห่ง) 14 แห่ง โครงการต้านยาเสพติด ญาลันนันบารู PA ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ บูรณาการด้านอาหาร 5 อำเภอ 57 แห่ง 50 แห่ง ธรรมนูญสุขภาพผ่านงานกองทุนฯ

กลไกทำงานพัฒนากองทุนสุขภาพตำบล พี่เลี้ยง coaching 10 คน/จังหวัด ปรับระบบการบริหารกองทุน สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ พัฒนาโครงการที่มีคุณภาพ คณะทำงานพัฒนางานกองทุนตำบลจังหวัด ติดตามผลงานการบริหารกองทุน ผลักดันให้คำปรึกษาการบริหารกองทุน บัณฑิตอาสาพัฒนามาตุภูมิ เขียนโครงการแก้ปัญหาสุรา ยาสูบและสารเสพติดในนามหมู่บ้าน ตัวกลางช่วยเขียนและติดตามโครงการ ญาลันนันบารู เขียนโครงการแก้ปัญหาสุรา ยาสูบและสารเสพติดในนามหมู่บ้าน

ตัวชี้วัดการดำเนินงานของกองทุนฯที่เข้มแข็ง มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหา สุขภาพที่สำคัญของชุมชน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และสามารถลด ปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน มีระบบติดตามประเมินผล 03/05/2019

ทิศทางการทำงานแก้ปัญหาสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพตำบล จากข้อมูล (Health Need Assessment) คนไทยสูญเสียช่วงชีวิตที่อยู่อย่างมีความสุข ไปถึง 10.2 ล้านปี หรือ 10.2 ล้าน DALY ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ บริโภคแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง การไม่สวมหมวกนิรภัย ภาวะคอเลสเตอร์รอลสูง การบริโภคผักไม่เพียงพอ ภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน สถานการณ์โรคชายและหญิง อันดับ 1 โรคมะเร็งทุกชนิด อันดับ 2 โรคหัวใจและหลอดเลือด อันดับ 3 โรคหอบหืด COPD อันดับ 4 โรคเบาหวาน อันดับ 5 อุบัติเหตุ แผนสุขภาพ โครงการ

แนวคิดทำแผนงาน/โครงการ 1.อยู่ไหน: สถานการณ์เป็นอย่างไร (เด็ก สูบบุหรี่ 50%) 2.ไปไหน:จุดหมาย/เป้าหมายอยากเห็น (ลด เด็กสูบบุหรี่ลงเหลือ 20%) 3.ไปงัย:วิธีการสำคัญที่จะบรรลุเป้าหมาย (กิจกรรม/แนวทางทำงาน) 4.ถึงรึยัง:การติดตามประเมินผล (มีโครงการ อะไรบ้าง)

โปรแกรมบริหารกองทุนสุขภาพตำบล ช่วยให้ผู้รับทุนพัฒนาโครงการเองได้ Module แผนสุขภาพ 10 ประเด็น Module พัฒนาโครงการ Module ติดตามโครงการ พิมพ์เอกสารโครงการ สถานการณ์สุขภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการสำคัญ งบประมาณ โครงการที่ควรทำ(พัฒนา) โครงการที่ดำเนินการแล้ว หลักการและที่มาของปัญหาวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรม และรายละเอียดงบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เสนอคณะกรรมการพิจารณา ดำเนินโครงการ บันทึกกิจกรรม รูปภาพและเอกสารการเงิน เอกสารสรุปโครงการ จัดการสมาชิกผู้รับทุน

ต้องออกคำสั่งจากอปท.(หนังสือตราครุฑ) แต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุน กองสาธารณสุข/สำนักปลัด บริหารทั่วไป กองคลัง พัสดุ รับผิดชอบงานบัญชี พัสดุ สำนักปลัด งานแผนกองทุนและงบประมาณ ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้งในคู่มือแบบฟอร์มจากเว็บกองทุนสุขภาพตำบล(www.localfund.happynetwork.org)

ตัวอย่างคำสั่ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่

บทบาทแตกต่างกัน...อปท. -คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารกองทุน บริหารกองทุนฯภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ รับผิดชอบงานธุรกรรม(เบิกเงิน/จัดทำบัญชี รับผิดชอบงานธุรการ เช่น เชิญประชุม จัดพัฒนาศักยภาพ ทำโครงการบริหารกองทุน 15% มาจากการแต่งตั้งตามโครงสร้าง ประกาศฯ อำนาจหน้าที่ตามข้อ 11 ประกาศ เช่น - ออกระเบียบที่จำเป็นต่อการบริหารกองทุน - ตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน - เห็นชอบทางบัญชี รายงานทางการเงิน - ให้ความเห็นทำข้อมูล แผนสุขภาพ - ติดตามการทำโครงการ

การขอรับการสนับสนุนโครงการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท หน่วยงานที่ขอรับ ขอบเขตกิจกรรม เงื่อนไข 7(1) หน่วยบริการ(โรงพยาบาลอำเภอ/รพ......) สถานบริการ (รพ.สต. –คลินิกแพทย์เอกชน-รพ.เอกชน) หน่วยงานสาธารณสุข (สนง.สาธารณสุขอำเภอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) จัดบริการสาธารณสุขใน 5 กลุ่มวัย แม่และเด็ก เด็กก่อนวัยเรียน วัยเรียน ผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาปฐมภูมิเชิงรุก 7(2) กลุ่มประชาชน(ชาวบ้าน 5 คนรวมกลุ่มไม่ต้องจดทะเบียน)/ชมรม/มูลนิธิ/หน่วยงานอื่น(วัด มัสยิด โรงเรียน กองการศึกษา กองช่าง) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค วัสดุที่มีลักษณะครุภัณฑ์ไม่เกิน 5,000บาท/โครงการ 7(3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก /ศูนย์พัฒนาผู้สูงอายุ/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการหรือชื่ออื่น ไม่น้อยกว่า 15%ของรายรับปีนั้น 7(4) สำนักเลขากองทุนฯ หรือ หน่วยงานและเจ้าหน้าที่รับการแต่งตั้ง บริหารจัดการให้กองทุนมีประสิทธิภาพไม่เกิน 15%ของรายรับปีนั้น ครุภัณฑ์ไม่เกิน 20,000บาท/รายการ 7(5) หน่วยงานใดก็ได้ที่มีความพร้อม(ตั้งงบไม่พอ)/แสดงมติการกันเงินและมอบอำนาจการเบิกจ่ายให้นายก อปท. บรรเทาปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้น จากภัยพิบัติหรือโรคระบาด กันไว้ 5-10% หรือตามสถานการณ์ หรือโอนให้หน่วยงานที่ทำโครงการเลย

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มวัยทำงาน

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ

ชุดสิทธิประโยชน์เพื่อรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

หลักการพิจารณาโครงการ สอดคล้องวัตถุประสงค์(ไม่สร้างรายได้ นันทนาการ ศาสนา ประเพณี) ไม่ซ้ำซ้อนงบปกติ (ควบคุมโรคติดต่อ ไข้เลือดออก) ค่าใช้จ่ายต้องเหมาะสม คุ้มค่า (ไม่ ฟุ่มเฟือย) กรณีศึกษา แจกของรางวัลถ้วนหน้า (แจกผ้าขาวม้าในกิจกรรมขลิบอวัยวะ /ผ้าถุง คัดกรองมะเร็งปากมดลูก(ให้เหตุผลว่าเป็นอุปกรณ์เพื่อความสะอาดได้)  ประกวดมอบรางวัล (มอบโล่รางวัล ประกาศนียบัตรได้)  ทัศนศึกษาดูงานอย่างเดียว/ซื้อเสื้อแจก คณะกรรมการ อบรมพัฒนาศักยภาพอย่างเดียว( อบรม อสม.)  จัดงานสร้างกระแสครั้งเดียวจบ เช่น จัดแรลลี่จักรยาน วิ่งมาลาทอน เป็นต้น  แข่งขันกีฬาแบบครั้งเดียวจบ เช่น กีฬานักเรียน เด็กเล็ก คนสูงอายุ

ประกาศข้อ 7 หลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯ พ.ศ.2557 กำหนดดังนี้ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน หรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่าย ตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ คณะกรรมการมีอำนาจทางปกครอง/ออกคำสั่งทางปกครอง(อนุมัติ/ไม่อนุมัติ) -ประชุมต้องชอบด้วยกฎหมาย(มากกว่าครึ่งของจำนวนกรรมการ เช่น มี ก.ก. 15คน ต้องประชุมอย่างน้อย 8 คน อนุมัติโครงการเสียงเกินกึ่งหนึ่ง) -โครงการที่ทำก่อน คณะกรรมการอนุมัติ ไม่ผ่านกรรมการ โครงการมิชอบ เป็นโมฆะ อนุมัติ ค่าใช้จ่าย เงื่อนเวลาทำงาน(ระยะเวลาทำงาน ควรเป็นไปตามปีงบประมาณ ส่งสรุปผลงานเอกสารการเงิน ภายหลังเสร็จงาน 1 เดือน

ความเข้าใจคลาดเคลื่อนของ คณะกรรมการและ อปท. กองทุนฯจะสนับสนุนงบประมาณดำเนินโครงการแก่ผู้รับ ทุน ต้องใช้ระเบียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ้างอิงทุก ประเด็นกับผู้รับทุน (ไม่จริง) ใช้ประกาศกองทุนฯ ปี 2557 เป็นสำคัญ เนื่อง สปสช.มีระเบียบกองทุนของหน่วยงาน เมื่อคณะกรรมการกองทุนฯอนุมัติและโอนเงินยัง หน่วยงานรับทุนแล้ว การให้ได้มาหรือนำเงินไปใช้ให้ เป็นไปตามระเบียบหน่วยงานรับทุน เช่น ในโครงการมี การจัดซื้อของ การดำเนินการจัดซื้อต้องเป็นไปตาม ระเบียบของหน่วยงานที่รับทุน 7(4) การซื้อครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุน ต้องใช้ระเบียบ ของ อปท.โดยอนุโลม 7(4) หากมีกิจกรรมจ้างลูกจ้างกองทุนฯ และการให้ได้มา ซึ่งลูกจ้าง เช่น การคัดเลือก หรือการจัดจ้าง ก็นำเอา ระเบียบของ อปท.มาใช้โดยอนุโลม

ค่าใช้จ่ายตามกิจกรรม ประชุมอบรม ลงปฏิบัตการพื้นที่  (ทั้งวัน) (-) (ถ้ามี) แนบกำหนดการ ค่าอาหารกลางวัน และ เครื่องดื่ม ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทนค่าวิทยากร ค่าใช้สอย เช่น ค่าเช่าสถานที่ เครื่องเสียง เป็นต้น ค่าพาหนะหรือชดเชยน้ำมัน เชื้อเพลิง ค่าวัสดุและครุภัณฑ์ ค่าจ้างเหมา(พ่นยุง)…….. ค่าตอบแทนนอกเวลา

การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล ภายใน ม.ค- ก.พ. 61 7(1)= จัดบริการสาธารณสุข ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษาเชิงรุก รพ.ชุมชน รพ.สต. สนง.สาธารณสุขอำเภอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ศูนย์บริการสาธารณสุข โอนตัดขาดเข้าบัญชี 7(2)= กิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค (วัสดุที่มีลักษณะครุภัณฑ์ ไม่เกิน 5,000 บาท) กลุ่ม ชมรม องค์กรประชาชน และชาวบ้าน 5 คน (ไม่ต้องจดทะเบียน) โอนตัดขาดเข้าบัญชี 7(3)= กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาครอบครัว ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ โอนตัดขาดเข้าบัญชี เบิกเงินจากบัญชีกองทุน จ่ายเช็คให้เลขานุการ ตามที่จัดกิจกรรมแต่ละครั้ง 7(4)= บริหารจัดการกองทุน ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ประจำ อปท. 7(5)= ภัยพิบัติ ฉุกเฉิน โรคระบาด หน่วยงานหรือกลุ่มองค์กรใดก็ได้ โอนตัดขาดเข้าบัญชี

ขั้นตอนการเสนอโครงการของ รพ.สต. -จ่ายเงินเป็น(เช็ค/โอนเงิน/ตั๋วแลกเงิน) อบต./เทศบาล คณะกรรมการพิจารณาโครงการ จนท.กองทุนรวบรวมโครงการเสนอให้คณะกรรมการพิจารณา กองทุนสุขภาพตำบล ผอ.รพ.เห็นชอบโครงการ จนท.เขียนโครงการด้านสุขภาพ รพ.สต.

ขั้นตอนการรับเงินและใช้เงินกองทุนของ รพ.สต. นพ.สสจ. - ขออนุมัติโครงการ /ไม่ต้องอนุมัติ ? ตรัง ยกเว้นหลักสูตรอบรม สสจ. สงขลา ต้องให้ นพ.สสจ.อนุมัติ ? ผอ.รพ.รับเงินเอง(มอบอำนาจ) ออกใบเสร็จรับเงิน บัญชีเงินบำรุงเงินรับฝาก รพ.สต.(แยกบัญชีก็ได้ แต่ทำสมุดบัญชีคุม) รพ.สต.

- สรุปการประชุมคณะกรรมการ

เงินอุทิศ

เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินกองทุนสุขภาพตำบล 1. โครงการ (เขียนหรือพิมพ์จากเว็บไซต์ก็ได้) 2. บันทึกข้อตกลง (TOR :term of reference) กองทุน-ผู้รับทุนจากเว็บไซต์ 3. เอกสารสรุปผลการประชุม(เน้นวาระการอนุมัติ โครงการว่ามีกี่โครงการที่อนุมัติ จำนวนเงินที่อนุมัติ) 4. ใบเบิกเงิน(ฏีกา) ทำจากระบบเว็บไซต์ ***โครงการบริหารกองทุน ฯ 15% ใช้โครงการและใบเบิก เงินออกมาแต่ละครั้งที่ประชุม

ผลการใช้เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา เปรียบเทียบ ระหว่างปี 2560-61 ปี 2561( พ.ค.) ปี 2560

หลักเกณฑ์ การจัดสรรเงินกองทุนตำบล ปี 62 ใช้ข้อมูลประชากร 1 เมษายน 2561 ประกอบการจัดสรร ทำแผนสุขภาพ-ป้อนโครงการ ปี 62 ใน ระบบเว็บไซต์ เงินสะสมมากกว่า 2 เท่าของรายรับ ไม่ จัดสรรเพิ่ม เงินที่เหลือ เอาไปไหน คืนส่วนกลาง เขตจัดสรรแก่ อปท.ที่ผลงานดีและมีความพร้อม การสมทบ

แนวทางดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล ปี 62 ระยะเวลา กิจกรรม 1-31 พ.ค.61 ป้อนข้อมูลประชากรทุกสิทธิ์ (1 เม.ย.2561) และเงินสมทบตามขนาด อปท.ในโปรแกรม มิ.ย. 61 ทำแผนสุขภาพกองทุน ปี 62 (เลือกจาก10 ประเด็นตามความต้องการในโปรแกรมฯ) ใช้งบบริหาร ปี 61 มิ.ย.-ก.ย. 61 กองทุนสุขภาพตำบล แผนสุขภาพ และป้อนโครงการใช้เงิน ปี 62 เพื่อให้พี่เลี้ยงแนะนำ 7.1) รพ.สต./รพช./กองสาธารณสุขอำเภอ 7.2) กลุ่มชาวบ้าน 7.3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 7.4) โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนฯปี 62 7.5) โครงการเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ส.ค.61 อปท.นำรายละเอียดเงินสมทบเข้าสภา อปท.เพื่ออนุมัติและสมทบเข้ากองทุนภายใน ไตรมาสแรก 62 ต.ค.-ธ.ค. 61 สปสช.โอนเงินเฉพาะ อปท.ที่ป้อนโครงการใช้เงินทั้งหมด 62 ครบเข้าระบบโปรแกรมแล้วเท่านั้น (พี่เลี้ยงไฟเขียว) กองทุนสุขภาพตำบลประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1 อนุมัติแผน/โครงการ ฎีกาให้ผู้รับทุนภายใน ธ.ค. อปท.โอนเงินสมทบเข้ากองทุนสุขภาพตำบล ภายใน ธ.ค. ไม่จัดสรร กรณี ไม่สมทบปี 61 เงินสะสมเกิน 2 เท่ารายรับ ไม่ป้อนโครงการปี 62 (ทั้งหมด)

สถานการณ์ เบิกจ่ายเงินกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2561 เงินสะสมยกมา ปี 61