บทนำระบบนิวแมติกส์ จัดทำโดยนายนภดล ชัยนราทิพย์พร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายข่าว ฉบับที่ 1 บริษัท ซีเคดี ไทย คอร์ปอเรชั่น จำกัด
Advertisements

Field Station Sensors 1.Wind Speed and Wind Direction 2.Ambient Air Temperature and Relative Humidity 3.Runway / Ground Temperature 4.Precipitation 5.Barometric.
CONTROL VALVE LEAKAGE TEST INSPECTION
การตรวจวัดปริมาณมลพิษ (ฝุ่น) ที่ระบายออกจากปล่อง
ส่วนประกอบของสกาดา 1. Field Instrumentation 2. Remote Station
Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
โครงการปฏิบัติการคันคูน้ำที่ 14
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
วิชา Industrial Automation System
บทที่2 แผนภาพ กระบวนการผลิต (Piping & Instrument Diagrams: P&ID)
1. Sequential Circuit and Application
AIR SUSPENSION SYSTEM.
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
ระบบผลิตอากาศอัดทางทันตกรรม
การทดสอบเครื่องวัดความดันโลหิต
เนื้อหารายวิชา Power System Analysis ปีการศึกษา 1/2549
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
ระบบควบคุมการ ทำงาน ของด้ามกรอฟัน โดย ……….. ทพ. บุญฤทธิ์ สุวรรณ โนภาส สำนักพัฒนา เครือข่ายบริการสุขภาพ สำนักพัฒนา เครือข่ายบริการสุขภาพ ……… ทพ. ประยงค์
Principles ( หลักการ ) Applications ( การใช้ งาน ) Maintenance ( การ บำรุงรักษา )
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 20 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
โดย…ศรีอัมพร หนูกลับ นักวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
(Introduction to Soil Science)
หลักการตรวจประเมินคุณภาพอากาศ ภายในอาคาร (Indoor Air Quality)
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ประวัติและโครงสร้างของเครื่องยนต์
RIHES-DDD TB Infection control
การใช้งานและบำรุงรักษา
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
หลักการทำงานของเครื่องยนต์
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
หลักการของเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ
หม้อไอน้ำ (Boilers).
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสม สำหรับเด็กปฐมวัย
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน
การจัดกิจกรรมห้องสมุด
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ระบบไอดีไอเสียรถยนต์
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
ระบบหัวฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Family assessment.
ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ระบบนิวแมติกส์.
บทนำระบบนิวแมติกส์.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ระบบหล่อลื่นของเครื่องยนต์
วิลเลียม ฮาร์วีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ค้นพบหมุนเวียนของเลือด ซึ่งมีการไหลเวียนไปทางเดียวกัน.
จุดประสงค์รายวิชา.
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
Programmable Logic Control
Presentation By : Timsaeng2000 CO.,LTD
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
Service Profile หน่วยงาน : ห้องคลอด รพร.เดชอุดม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทนำระบบนิวแมติกส์ จัดทำโดยนายนภดล ชัยนราทิพย์พร

ความหมาย ระบบนิวแมติกส์ หมายถึง ระบบการส่งกำลังจากต้นทางไปยังปลายทางโดยอาศัยลมเป็นตัวกลางในการส่งกำลังและควบคุมการทำงาน ลักษณะการควบคุมโดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการควบคุมแบบเปิด-ปิด

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ Air comporessor (เครื่องอัดลม) ทำหน้าที่ผลิตลมอันให้ได้ความดันตามที่ต้องการ โดยจะดูดอากาศที่ความดันบรรยากาศแล้วอัดให้มีความดันเพิ่มสูงขึ้น ลมอันที่ผลิตได้จะถูกเก็บไว้ที่ถังพักลมอัดก่อนที่จะจ่ายให้ระบบ

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ Receiver (ถังพักลมอัด) มีหน้าที่เก็บปริมาณลมอัดที่ผลิตได้จากเครื่องอัดลม ให้มีปริมาณลมอัดที่เพียงพอกับการจ่ายให้กับระบบและยังช่วยรักษาระดับความดันให้คงที่ ยังช่วยระบายความร้อนจากลมอัด ซึ่งจะทำให้ไอน้ำที่ผสมเข้ามากับลมอัดเกิดการควบแน่นเป็นน้ำอยู่ที่ถังพัก และสามารถระบายออกได้ที่วาล์วระบายด้านล่าง

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ After cooler (เครื่องระบายความร้อนลมอัด) ทำหน้าที่ระบายความร้อนลมอัดให้มีอุณหภูมิลดลงทำให้ไอน้ำหรือความชื้นที่ผสมกับลมอัดกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ จึงเป็นตัวดึงเอาไอน้ำออกจากลมอัด

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ Main Air Filter (เครื่องกรองลมหลัก) มีหน้าที่กรองเศษฝุ่นละออง และไอน้ำที่ผสมมากับลมอัดให้สะอาดก่อนนำลมอัดไปใช้งาน ซึ่งลมอัดที่เข้ามาจะมีความดันและจะไหลลงไปที่ตัวกรองที่เป็นรูปกรวย ทำให้เกิดการหมุนเหวี่ยงเศษฝุ่นผงซึ่งจะไปติดค้างที่ไส้กรอง และน้ำจะตกลงด้านล่างซึ่งมีรูระบายออก จึงทำให้ลมอัดที่ไหลออกไปมีความแห้งและสะอาดยิ่งขึ้น

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ Air Dryer (เครื่องกำจัดความชื้น) ทำหน้าที่กำจัดความชื้นออกจากลมอัด โดยปกติเครื่องระบายความร้อนไม่สามารถที่จะกำจัดความชื้นหรือไอน้ำออกได้หมดจึงจำเป็นจะต้องมีอุปกรณ์ที่ทำให้ลมอัดแห้งปราศจากความชื้น เพื่อไม่ให้เกิดสนิมภายในอุปกรณ์

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ Service Unit (ชุดปรับสภาพของลมอัด) ในระบบนิวแมติกส์ก่อนนำลมอัดไปใช้งาน จะต้องมีอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาดลมอัดอีกครั้งหนึ่ง รวมทั้งจะต้องรักษาแรงดันลมอัดให้ได้ตามต้องการ และบางครั้งต้องผสมละอองหล่อลื่นให้กับอุปกรณ์ในวงจรนิวแมติกส์ด้วยประกอบด้วย

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ Service Unit (ชุดปรับสภาพของลมอัด) Filter (ตัวกรองลมอัด) มีหน้าที่กำจัดสิ่งสกปรกฝุ่นละอองและไอน้ำที่ผสมมากับลมอัด Pressure Regulator (ตัวควบคุมความดัน) มีหน้าที่ควบคุมความดันลมอัดด้านใช้งานให้คงที่ และรักษาปริมาณลมอัดในการใช้งานให้คงที่ Lubricator (ตัวผสมละอองน้ำมันหล่อลื่น) มีหน้าที่จ่ายสารหล่อลื่นให้กับอุปกรณ์นิวแมติกส์ เพื่อช่วยลดการสึกหรอและป้องกันการเกิดสนิมในอุปกรณ์ต่างๆ Pressure Gauge (เกจวัดความดัน)ใช้สำหรับวัดความดัน ปกติจะติดตั้งอยู่ทางออกของตัวควบคุมความดันลมอัด

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ อุปกรณ์ทำงานในวงจรควบคุมนิวแมติกส์ Directional Control Valve (วาล์วควบคุมทิศทาง) มีหน้าที่เปลี่ยนทิศทางการไหลของลมอัดทำให้อุปกรณ์ทำงานของระบบนิวแมติกส์เคลื่อนที่ตามทิศทางที่ต้องการ Flow Control Valve (วาล์วควบคุมอัตราการไหล) มีหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ทำงาน ให้ช้าหรือเร็ว โดยการปรับอัตราการไหลของลมอัด Cylinder (กระบอกสูบ) เป็นอุปกรณ์ทำงานชนิดหนึ่งในระบบนิวแมติกส์ที่มีการเคลื่อนที่แบบเชิงเส้น ซึ่งทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานลมอัดเป็นพลังงานกล

อุปกรณ์ของระบบนิวแมติกส์ อุปกรณ์ทำงานในวงจรควบคุมนิวแมติกส์ ประกอบด้วยระดับการควบคุมดังต่อไปนี้ Sensor

วิธีการควบคุมระบบนิวแมติกส์ การควบคุมด้วยลมอัด (Pneumatic) จะใช้ลมอัดเป็นต้นกำลังและเป็นสัญญาณให้การควบคุมอุปกรณ์นิวแมติกส์ให้ทำงานตามที่ต้องการ เหมาะกับลักษณะงานที่จะก่อให้เกิดอันตราย ไม่สามารถใช้สัญญาณไฟฟ้าในการควบคุมได้ การควบคุมนิวแมติกส์ด้วยไฟฟ้า (Electro Pneumatic) ใช้ลมอัดเป็นต้นกำลังและสัญญาณไฟฟ้าในการควบคุมอุปกรณ์นิวแมติกส์ให้ทำงาน โดยอาศัยรีเลย์เป็นอุปกรณ์หลักในการควบคุม ข้อเสีย มีความยุ่งยากในการต่อวงจรควบคุม ไม่เหมาะกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงการทำงานอยู่บ่อยๆ

วิธีการควบคุมระบบนิวแมติกส์ การควบคุมนิวแมติกส์ด้วย PLC คล้ายกับการควบคุมนิวแมติกส์ไฟฟ้า แต่ใช้ PLC เป็นตัวควบคุมแทนระบบควบคุมด้วยรีเลย์ ข้อดี สามารถควบคุมการทำงานที่ยุ่งยาก ซับซ้อนได้ดี เหมาะกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขบ่อยๆ

อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานของแรงดันลมให้เป็นพลังงานกลในรูปแบบต่างๆ ในที่นี้จะอธิบายอุปกรณ์ทำงานเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง Single Acting Cylinder (กระบอกสูบทำงานทางเดียว) จะใช้ลมอัดลูกสูบด้านเดียว ส่วนอีกด้านจะเป็นด้านระบาย และเลื่อนกลับด้วยสปริงภายใน Double Acting Cylinder (กระบอกสูบทำงานสองทาง) ใช้ลมอัดดันให้ก้านสูบเลื่อนออกและเลื่อนเข้าทั้งสองด้าน

อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานของแรงดันลมให้เป็นพลังงานกลในรูปแบบต่างๆ แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ได้ 3 ประเภท อุปกรณ์ทำงานเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง Cushion Cylinder (กระบอกสูบทำงานสองทางแบบมีตัวกันกระแทก) ออกแบบให้มีเบาะลมต้านการกระแทกของลูกสูบก่อนจะสุดช่วงชัก โดยการบังคับให้ลมไหลผ่านช่องแคบๆ ที่อาจจะปรับค่าได้

อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ Rod less Cylinder (กระบอกสูบแบบไม่มีก้านสูบ) เหมาะกับงานที่ต้องการช่วงชักยาว พื้นที่ใช้งานจำกัด การทำงานจะใช้ลมอัดไปดันลูกสูบที่มีแม่เหล็กติดไว้กับลูกสูบให้เคลื่อนที่ เป็นผลทำให้ปลอกเลื่อนภายนอกซึ่งก็มีแม่เหล็กติดอยู่เคลื่อนที่ตามไปด้วย