การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ระบบฐานข้อมูล ใน Microsoft Access
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทบทวนอสมการกำลัง 1 การหาเซตคำตอบของ อสมการ ตัวอย่า ง.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
IP-Addressing and Subneting
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
IP-Addressing and Subneting
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การบริหารโครงการ Project Management
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
Serial Communication.
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
Work Shop 1.
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข

คำถามชวนคิด????? คุณสมบัติของคีย์หลักมีอะไรบ้าง ตอบ ไม่เป็นค่าว่าง และค่าต้องไม่ซ้ำกัน 2. วิธีการสร้างคีย์หลัก 2 คีย์ใน 1 ตารางมีวิธีการอย่างไร ตอบ กด Ctrl ค้างไว้ หลังจากนั้นคลิกที่ฟิลด์ที่ต้องการ กำหนดให้เป็นคีย์หลัก

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายและชนิดของแบบสอบถามได้ 2. สร้างแบบสอบถาม (Query) ได้ 3. กำหนดเงื่อนไขในการสร้างแบบสอบถามได้

แบบสอบถาม (Query) “แบบสอบถาม” หรือ “คิวรี (Query)” ใช้ในการกำหนดเงื่อนไขในการคัดกรองข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่เราต้องการ ดังนั้น แบบสอบถามจึงเป็นการเลือกกลุ่มของข้อมูลจากตารางข้อมูล โดยเอาเฉพาะที่เราต้องการ เช่น เอาเฉพาะบางฟิลด์หรือบางเรคอร์ดตามเงื่อนไขที่เรากำหนด กลุ่มของข้อมูลที่เลือกออกมานี้ จะเรียกว่า ไดนาเซ็ต (Dynaset) คิวรี (Query)

ประเภทของแบบสอบถาม (Query) แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1. แบบใช้เลือกข้อมูล (Select Query) ใช้ในการเลือกข้อมูลจากตารางๆ เดียว หรือหลายตาราง ตามเงื่อนไขที่กำหนด 2. แบบตาราง (Crosstab Query) เป็นคิวรีที่แสดงข้อมูล 2 มิติ คือ เป็นการแสดงข้อมูลตามความสัมพันธ์ในแนวคอลัมน์กับแถว 3. แบบพารามิเตอร์ (Parameter Query) เป็นคิวรีที่มีการแสดงไดอะล็อกบ็อกโต้ตอบโดยการใส่ค่าพารามิเตอร์เพื่อถามข้อมูลจากผู้ใช้งาน

ประเภทของแบบสอบถาม (Query) (ต่อ) แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 4. แบบแอคชัน (Action Query) ใช้สำหรับเปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูล 5. แบบ SQL (SQL Query) เป็นคิวรีที่สร้างด้วยการใช้คำสั่งภาษา SQL

การกำหนดเงื่อนไข (Criteria) เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ เครื่องหมายในการคำนวณ เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความ ตัวกระทำค่าทางตรรกะ ตัวกระทำเพื่อเลือกข้อมูลเป็นกลุ่ม ตัวกระทำเพื่อหาค่าว่าง

เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ คำอธิบาย = เท่ากับ <> ไม่เท่ากับ < น้อยกว่า > มากกว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ >= มากกว่าหรือเท่ากับ

เครื่องหมายในการคำนวณ โอเปอเรเตอร์ คำอธิบาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + บวก   3 + 2 5 - ลบ   5 – 3 2 * คูณ 3 * 2 6 / หาร 10 / 4 2.5 \ หาร นิพจน์แบบผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม 13 \ 4 3 Mod หาเศษจากการหาร 13 Mod 4 1 ^ หาผลลัพธ์จากการยกกำลัง 2 ^ 3 8 ( ) จัดลำดับการคำนวณ (3+2) * 3 15

เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความ โอเปอเรเตอร์ คำอธิบาย ตัวอย่าง ผลที่ได้ & ใช้ในการเชื่อมต่อสตริง “AB” & “CD” “ABCD” + “AB” + “CD”

ตัวกระทำค่าทางตรรกะ โอเปอเรเตอร์ คำอธิบาย And เลือกเรคอร์ดเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริง Or เลือกเรคอร์ดเมื่อมีเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งเป็นจริง Not กลับเงื่อนไขเป็นตรงข้าม Xor เลือกเรคอร์ดเมื่อมีเงื่อนไขที่เป็นจริงเพียงอันเดียว Eqv เลือกเรคอร์ดเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริงหรือเป็นเท็จทั้งคู่

ตัวกระทำเพื่อเลือกข้อมูลเป็นกลุ่ม โอเปอเรเตอร์ ทำหน้าที่ Like “ข้อมูล” หาข้อมูลทั้งหมดที่ตรงตามที่กำหนดใน “ข้อมูล” โดยอาจใช้อักขระตัวแทน (Wildcard) ร่วมด้วยได้ Between ข้อมูล1 And ข้อมูล2 หาข้อมูลที่อยู่ในช่วงข้อมูล1 และข้อมูล2 In (ข้อมูล1,ข้อมูล2,...) หาข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับที่ระบุในวงเล็บ

อักขระตัวแทน (Wildcard) * หรือ % แทนอักษรหรือตัวเลขใดๆ ก็ได้กี่ตัวก็ได้ เช่น Sc* อาจเป็น School, Scare, Screen ? แทนอักษรหรือตัวเลขใดๆ ก็ได้ 1 ตัวตรงตำแหน่งนั้น เช่น B?g อาจเป็น Big, Bag, Bug # แทนตัวเลขอะไรก็ได้ 1 ตัวตรงตำแหน่งนั้น เช่น ##000 อาจเป็น 10000, 45000 [ ] แทนช่วงอักษรหรือตัวเลขที่อยู่ในวงเล็บ เช่น [ABC] จะได้ A,B,C [A-D] จะได้ A,B,C,D [A-C]* อาจเป็น Ant, Bat, Computer [A-C][12] จะได้ A1, A2, B1, B2, C1, C2

อักขระตัวแทน (Wildcard) ! แทนตัวอักษรหรือตัวเลขนอกเหนือที่ระบุ เช่น !S* จะได้ข้อมูลอะไรก็ได้ที่ไม่ได้ขึ้นต้นด้วย S [!A-D] จะได้ตัวอักษรอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่ A, B, C, D ตัวอย่างเช่น ฟิลด์ เงื่อนไข สิ่งที่ได้ Name Like “พ*” พนักงานที่ชื่อขึ้นต้นด้วย พ Zipcode In(“10240”,“10250”, “10310”) ผู้ที่อยู่ในเขตรหัสไปรษณีย์ 10240 หรือ 10250 หรือ 10310 Salary Between 15000 And 17000 ผู้ที่มีเงินเดือนระหว่าง 15,000 ถึง 17,000 บาท

ตัวกระทำเพื่อหาค่าว่าง เครื่องหมาย คำอธิบาย Is Null แสดง Field ที่เป็นค่าว่าง (Null) Is Not Null แสดง Field ที่ไม่เป็นค่าว่าง (Not Null)

การระบุชื่อฟิลด์ หากต้องการระบุชื่อฟิลด์ในเงื่อนไขเพื่อนำค่ามาเปรียบเทียบ ให้เขียนอยู่ในเครื่องหมาย [ ] รูปแบบ [ชื่อฟิลด์] หากใช้ร่วมกันหลายตารางข้อมูล อาจระบุชื่อตารางร่วมด้วยดังนี้ [ชื่อตาราง].[ชื่อฟิลด์] เช่น [Employee].[Salary]

Thank you !