โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
scanf(“%d”,&a); a = (2+3)*4/5; b= a*5/100; if(a<0) ……..
Advertisements

Chapter 3: Expected Value of Random Variable
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Computer Programming for Engineers
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
เพื่อให้มีประสบการณ์ในการทำงาน และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ได้ 2. เพื่อได้เรียนรู้งานก่อนออกทำงานจริง ในอนาคต 3. เพื่อเรียนรู้การปฏิบัติตัวต่อเพื่อน.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
การวัดและประเมินผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี การศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อโซเชียลของนักเรียนมัธยมปลายโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ เสนอต่อ อาจารย์ กุลนันท์ เปล่งความดี จัดทำโดย 1.นางสาว ธนวรรณ สดใสญาติ ม.4/11 เลขที่ 4ก. 2.นางสาวลัลนลักษณ์ เชิงทวี ม.4/11 เลขที่ 8ก. 3.นางสาวกมลชนก เจริญสวัสดิ์ ม.4/11 เลขที่ 13ก. โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ   การวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการใช้สื่อโซเชียลของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ในปี 2560 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อโซเชียลของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ในปี 2560 วิธีดำเนินการวิจัย 1.ประชากรที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ ในปีการศึกษา 2560 จำนวน 1,468 คน โดยทำการสุ่มแบบตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยมีกลุ่มระดับชั้นการเรียนและห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม

2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นโดยดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1.ศึกษาเอกสาร ตำรา แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย เกี่ยวกับการใช้งานอินเตอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย 2.ศึกษาแนวทางการสร้างแบบสอบถามตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert. 1932:1-55) เพื่อเป็นข้อมูลในการสร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ 3.นำข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมมาสร้างแบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5ระดับ ตามวิของลิเคิร์ท (Likert. 1932:1-55) โดยให้ตั้งข้อคำถามครอบคลุมเกี่ยวกับการใช้สื่อโซเชียลของนักเรียนมัธยมปลาย

3.การเก็บรวบรวมข้อมูล และการจัดกระทำข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวม และจัดกระทำข้อมูล โดยการดำเนินงานตามขั้นตอนดังนี้ 1.ผู้วิจัยติดต่อขอความร่วมมือจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย โดยการส่งแบบสอบถามและรับคืนแบบสอบถามด้วยตนเอง 2. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามทั้งหมด ได้แบบสอบถามที่มีคำตอบที่สมบูรณ์มาจัดกระทำข้อมูล จำนวน 120ฉบับ จากแบบสอบถามที่แจกไปทั้งหมด ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 3.การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในตอนที่1 และตอนที่2โดยจำแนกเป็นค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตอนที่1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ชั้นปีที่ศึกษา 4.การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามทั้งหมดโดยใช้ ตารางสูตรคำนวนแบบสอบถามด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 4.1ข้อมูลจากแบบสอบถาม ตอนที่1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ชั้นปีที่ศึกษา ตอนที่2 เป็นแบบสอบถามสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้สื่อโซเชียลของนักเรียนมัธยมปลายในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ โดยมีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ใช้วิธีหาค่าความถี่ข้อมูล (Frequencies : Variable : IF Cases), ค่าเฉลี่ยหรือ (x) (Means), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ SD (Standard Deviation)

สรุปผลการวิจัย                 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถสรุปได้ตามลำดับ คือ ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยกับพฤติกรรมการใช้สื่อโซเชียลของนักเรียนมัธยมปลายในโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ปีการศึกษา 2560 มี   ข้อเสนอแนะ             จากการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้มีแนวคิดที่จะเสนอข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้เพิ่มให้ผู้ที่จะทำการวิจัยต่อได้ทำการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ทราบถึงปัจจัยต่างๆเพิ่มมากขึ้น