การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2
การเขียนภาพร่างด้วยมือเปล่า เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 1 การเขียนภาพร่างด้วยมือเปล่า การสเก็ตซ์เส้นตรง การสเก็ตซ์เส้นโค้ง การสเก็ตซ์วงกลม การสเก็ตซ์วงรี การสเก็ตซ์รูป
วัตถุประสงค์สัปดาห์ที่ 2 เพื่อฝึกการเขียนภาพร่างด้วยมือเปล่า เพื่อฝึกการเขียนภาพร่างรูปร่างต่างๆ เพื่อฝึกการภาพร่างของชิ้นงาน
การเขียนภาพร่างด้วยมือเปล่า ช่วยบันทึกความคิดได้โดยสะดวกและง่าย อาศัยเพียงแค่กระดาษกับดินสอหรือปากกา การสเก็ตซ์อาจไม่สวยงามเหมือนกับใช้เครื่องมือ แต่ต้องสะอาด เห็นถึงความแตกต่างของเส้นแต่ละชนิดอย่างชัดเจน ต้องคำนึงถึงสัดส่วนขององค์ประกอบต่างๆ ในรูป
การเขียนภาพร่างด้วยมือเปล่า กระดาษที่ใช้จะเป็นกระดาษไม่มีเส้น หรือเป็นกระดาษกราฟ ก็ได้ การใช้กระดาษกราฟจะช่วยให้ได้ภาพร่างที่ได้สัดส่วนและถูกต้องมากขึ้น ช่องตารางสำหรับ Isometric ซึ่งเป็นช่องตารางสำหรับรูปสามมิติ (ก) ช่องตารางปกติ (ข) ช่องตาราง Isometric
1. การสเก็ตซ์เส้นตรง
1. การสเก็ตซ์เส้นตรง การสเก็ตซ์เส้นตรงแนวนอนและแนวตั้ง
2. การสเก็ตซ์เส้นเอียงมุมต่างๆ ใช้วิธีเดียวกันกับการลากเส้นตรง กะประมาณมุมเอียงของเส้นโดยยึดแนวขอบกระดาษเป็นหลัก หรือใช้วิธีลากเส้นตั้งฉาก 2 เส้น ไว้บริเวณที่ว่าง แบ่งมุมโดยการกะประมาณ
2. การสเก็ตซ์เส้นโค้ง แบบที่ 1 Step 2 ลากเส้นเอียง 45 องศา กะระยะจากจุดศูนย์กลางให้มีค่าเท่ากับรัศมีของเส้นโค้ง Step 3 ลากเส้นโค้งเชื่อมแต่ละจุดบนเส้นรัศมี Step 1 ร่างเส้นตั้งฉากสองเส้นอย่างเบาๆ
2. การสเก็ตซ์เส้นโค้ง แบบที่ 2 Step 3 ลากเส้นโค้งเชื่อมแต่ละจุด
2. การสเก็ตซ์เส้นโค้ง ตัวอย่างเส้นโค้ง
2. การสเก็ตซ์วงกลม วงกลม แบบที่ 1 Step 3 ลากเส้นโค้งเชื่อมแต่ละจุดบนเส้นรัศมี Step 2 ลากเส้นทแยงมุม จะได้จุดศูนย์กลาง แล้วกะระยะจากจุดศูนย์กลางให้มีค่าเท่ากับรัศมีของเส้นวงกลม Step 1 วาดกล่องสี่เหลี่ยมด้านเท่าให้มีขนาดเท่ากับ เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
2. การสเก็ตซ์วงกลม วงกลม แบบที่ 2 Step 2 ลากเส้นเอียง 45 องศา กะระยะจากจุดศูนย์กลางให้มีค่าเท่ากับรัศมีของวงกลม Step 3 ลากเส้นโค้งเชื่อมแต่ละจุดบนเส้นรัศมี Step 1 ร่างเส้นตั้งฉากสองเส้นอย่างเบาๆ
2. การสเก็ตซ์วงกลม การวาดวงกลมด้วยวิธีต่างๆ
2. การสเก็ตซ์วงกลม วงกลม
3. การสเก็ตซ์วงรี แบบที่ 1 Step 2ลากส่วนโค้งของวงรีเป็นเส้นร่างนำทางแต่ละด้าน แล้วจึงลงเส้นเข้มเชื่อมกันให้เป็นวงรี Step 1 วาดกล่องสี่เหลี่ยม ผืนผ้า ด้านกว้างเท่ากับ 2 เท่าของแกนรอง และด้านยาวเท่ากับ 2 เท่าของแกนหลัก
3. การสเก็ตซ์วงรี แบบที่ 2 Step 1 ลากเส้นตั้งฉากกัน ลากส่วนโค้งของวงรีเป็นเส้นร่างนำทางแต่ละด้าน Step 2 ลงเส้นเข้มเชื่อมกันให้เป็นวงรี
3. การสเก็ตซ์วงรี แบบที่ 3 Step 2 ลงเส้นเข้มเชื่อมกันให้เป็นวงรี Step 1 ลากเส้นตั้งฉากกัน ใช้กระดาษช่วยกำหนด ขนาดของวงรี ดังรูป ให้จุด C อยู่ที่ศูนย์กลาง
3. การสเก็ตซ์วงรี จากภาพ 2 มิติที่กำหนด วิธีที่ 1 การเขียนวงกลมบนภาพไอโซเมตริก จะได้เป็นวงรี จากภาพ 2 มิติที่กำหนด วิธีที่ 1 Step 3 เนื่องจากรูป 3 มิติมีความลึก หากวงกลมที่ในรูป 2 มิติ เป็นรูเจาะ จะต้องวาดขอบของรูเจาะที่ผิวด้านหลังที่มองเห็นด้วย โดยการโปรเจควงรีจากผิวด้านหน้าไปยังผิวด้านหลังดังรูป Step 2 วาดเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นมุมกล่องด้านแหลมทั้งสองด้าน Step 1 วาดรูปกล่องสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมลงบนชิ้นงาน ลากเส้นทแยงมุม ที่มุมป้านของกล่องวาดเส้นโค้งสัมผัสกับด้านทั้งสอง
3. การสเก็ตซ์วงรี จากภาพ 2 มิติที่กำหนด วิธีที่ 2 การเขียนวงกลมบนภาพไอโซเมตริก จะได้เป็นวงรี จากภาพ 2 มิติที่กำหนด วิธีที่ 2
3. การสเก็ตซ์วงรี ตัวอย่างของวงกลมบนภาพไอโซเมตริก ที่เห็นเป็นวงรี
3. การสเก็ตซ์รูป ชนิดของการสเก็ตซ์มี 4 ชนิด (1) รูปสเก็ตซ์แบบ Orthographic (2) รูปสเก็ตซ์แบบ Axonometric
3. การสเก็ตซ์รูป ชนิดของการสเก็ตซ์มี 4 ชนิด (3) รูปสเก็ตซ์แบบ Oblique (4) รูปสเก็ตซ์แบบ Perspective
3. การสเก็ตซ์รูป รูปสเก็ตซ์ orthographics (ก) รูปสเก็ตซ์บนกระดาษที่มีช่องตาราง (ข) รูปสเก็ตซ์บนกระดาษเปล่า
Orthographic Sketching FRONT VIEW - มุมมองด้านหน้า
Orthographic Sketching TOP VIEW - มุมมองด้านบน
Orthographic Sketching R. SIDE VIEW - มุมมองด้านข้างขวา
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูป orthographics
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูป orthographics ขั้นตอนที่ 1 เลือกมุมมองด้านหน้า โดยเลือกจากด้านที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุด เป็นหลัก
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูป orthographics ขั้นตอนที่ 2 ร่างเส้นกรอบของรูปทั้งสามด้าน
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูป orthographics ขั้นตอนที่ 3 ร่างกรอบเบาๆ ของรายละเอียดในแต่ละรูปให้ครบ เริ่มจากกรอบของวงกลมหรือวงรีก่อนก็ได้
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูป orthographics ขั้นตอนที่ 4 ลงเส้นขอบขอบรูปให้เข้มและชัดเจน ส่วนใดที่ถูกบังไว้ให้เขียนเป็นเส้นประ และให้ลงเส้นศูนย์กลางสำหรับส่วนที่เป็นวงกลมและทรงกระบอก
3. การสเก็ตซ์รูป การสเก็ตซ์รูปแบบ Axonometric
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Isometric ขั้นตอนที่ 1 ถ้าเขียนบนกระดาษเปล่า ตั้งแกนการสเก็ตซ์แบบ Isometric หรือใช้กระดาษช่องตารางแบบ Isometric
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Isometric ขั้นตอนที่ 2 สร้างกล่อง Isometric ให้มีขนาดเท่ากับความกว้าง ความสูง และความลึกของรูป โดยให้แต่ละด้านของกล่องขนานกับแกน Isometric
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Isometric ขั้นตอนที่ 3 ร่างเส้นรายละเอียดของรูปแต่ละด้านลงไป
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Isometric ขั้นตอนที่ 4 ลงเส้นขอบของรูป โดยส่วนที่ถูกบังไม่ต้องลงเส้นใดๆ สำหรับส่วนที่เป็นวงกลมไม่ต้องลงเส้นศูนย์กลาง ดังรูป (จะลบเส้นร่างทิ้งหรือไม่ก็ได้)
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Isometric บนกระดาษเปล่า
3. การสเก็ตซ์รูป การสเก็ตซ์รูปแบบ Oblique
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Oblique
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Oblique ขั้นตอนที่ 2 ร่างรายละเอียดแต่ละด้านของรูป
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Oblique ขั้นตอนที่ 3 ลงเส้นหนัก ส่วนที่ถูกบังไม่ต้องลงเส้นใดๆ ส่วนที่เป็นวงกลมไม่ต้องลงเส้นศูนย์กลาง (จะลบเส้นร่างทิ้งหรือไม่ก็ได้)
3. การสเก็ตซ์รูป ขั้นตอนการสเก็ตซ์รูปแบบ Oblique บนกระดาษเปล่า
ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning จบสัปดาห์ที่ 1 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning