งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระงานช่าง) รหัสวิชา ง 22102

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระงานช่าง) รหัสวิชา ง 22102"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระงานช่าง) รหัสวิชา ง 22102
สอนโดย ครู วรวิทย์ ศรีสุพล วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน วรวิทย์ ศรีสุพล : การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5

2 รายละเอียดการเก็บคะแนน
อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = 80 : 20 รายละเอียดการเก็บคะแนน 1. คะแนนระหว่างเรียน = คะแนน 2. คะแนนสอบกลางภาค = คะแนน 3. คะแนนสอบปลายภาค = คะแนน รวม = คะแนน วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

3 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ตัวชี้วัด ง 1.1 ตัวชี้วัดที่ 2 ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน ง 2.1 ตัวชี้วัดที่ 2 สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพื่อนำไปสู่การสร้างต้นแบบของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิด และการรายงานผล เพื่อนำเสนอวิธีการ ตัวชี้วัดที่ 3.มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ในงานที่ผลิตเอง ง 4.1 ตัวชี้วัดที่ 3.มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

4 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
คุณค่าของงานช่าง งานช่าง เป็นงานวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยการนำเอาทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้งานให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ตั้งแต่ตื่นเช้ายันเข้านอน เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนน ยานพาหนะ ที่อยู่อาศัย เครื่องมือทางการแพทย์ เครื่องมือช่าง เครื่องการเกษตร ฯลฯ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

5 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ผลงานช่าง ถนนมิตรภาพ ตึกใบหยก วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน สะพานพระราม 8

6 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ผลงานช่าง สะพานพระราม 9 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

7 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ประโยชน์ของการเรียนงานช่าง เป็นพื้นฐานในการเรียนต่อระดับสูง เป็นความรู้ในการนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ นำไปใช้ในชีวิตประวัน วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

8 งานเขียนแบบเบื้องต้น
หน่วยที่ 1 งานเขียนแบบเบื้องต้น (DESIGN OR DRAWING) การเขียนแบบ เป็นภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อความหมายในทางความคิด ในรูปแบบของสัญลักษณ์ เส้น รูปทรง พื้นผิว และถือเป็นหัวใจของทุกช่าง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

9 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
ประเภทของงานช่าง 1. การเขียนแบบทางวิศวกรรม (Engineering Drawing) การเขียนแบบนำไปใช้ใน งานอุตสาหกรรมทางเครื่องจักรกล สามารถแยกได้ดังนี้ คือ     1.1 การเขียนแบบเครื่องกล(Machines Tool Drawing)     1.2 การเขียนแบบงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า (Electrical Electronic Drawing)     1.3 การเขียนแบบเครื่องยนต์(Automotive Drawing)     1.4 การเขียนแบบงานแผนที่และช่างสำรวจ(Map & Survey Drawing)     1.5 การเขียนแบบช่างกลและแผ่นโลหะ(Metal & Sheet Metal -Drawing) งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

10 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
2. การเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) เป็นการเขียนแบบในงานก่อสร้าง ซึ่งแยกงานเขียนได้ดังนี้ คือ     2.1 การเขียนแบบโครงสร้าง(Structural Drawing)     2.2 การเขียนแบบสัดส่วนของรูปต่างๆ(Shape & Proportion Drawing)     2.3 การเขียนรูปตัด(Section Drawing)     2.4 การเขียนภาพร่าง(Sketching Drawing) ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

11 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
3. การเขียนแบบตกแต่งภายใน (Interior Design Drawing) เป็นการเขียนแบบที่ใช้ ในการออกแบบตกแต่งภายใน ซึ่งแยกงานเขียนได้ดังนี้ คือ     3.1 การเขียนแบบเครื่องเรือน (Furniture Drawing)     3.2 การเขียนแบบทัศนียภาพ (Perspective Drawing) ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

12 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
4. การเขียนแบบผลิตภัณฑ์ (Product Drawing) เป็นการเขียนแบบที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์ จำแนกได้ดังนี้ คือ     4.1 การเขียนภาพฉาย (Orthographic Drawing)     4.2 การเขียนภาพสามมิติ (Three Dimension Drawing) งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

13 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
โต๊ะเขียนแบบ (TABLE DRAWING) ต้องมีพื้นโต๊ะที่เรียบ และขอบโต๊ะต้องได้ฉาก ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

14 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
2. ไม้ที (T-SQUARE) ใช้ในการขีดตีเส้นระดับ (180) หรือประกอบกับไม้เซ็ทในการขีดตีเส้นให้มีมุมต่าง ๆ ตลอดจนใช้เป็นเส้นระดับที่เลื่อนขึ้นลงได้ มี 2 แบบ คือ 2.1ไม้ทีแบบธรรมดา ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

15 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
2.2 ทีสไลด์ เชือกขึงกับขอบโต๊ะด้านบนและล่าง โต๊ะเขียนแบบ ลูกรอก สไลด์เลื่อนขึ้นลง งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

16 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
ไม้ทีสไลด์ ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

17 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
ทีมา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

18 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
3. ไม้เซ็ทหรือไม้สามเหลี่ยม (SET-SQUARE) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการขีดตีเส้นให้เป็นมุมต่าง ๆ มี 2 แบบคือ 60 บรรทัดโค้ง ใช้เขียนวงรี 3.1 แบบมุม 30, 60, 90 30 90 45 90 3.2 แบบมุม 45, 45, 90 ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

19 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
4. บรรทัดสเกล (SCALE) ใช้ในการขีด วัดย่อรูปที่เขียนในระบบเอสไอ (SI) เช่น 1:1, 1:25, 1:50, 1:100 ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

20 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
5. วงเวียน (DIVIDER) ใช้ในการเขียนรูปทรงเรขาคณิต หรือแบ่งเส้นและรูปทรงเรขาคณิตออกเป็นส่วน ๆ ที่มา ; / ที่มา; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

21 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
6. ดินสอ (PENCIL) ใช้ในการร่างภาพ เขียนรูป เขียนตัวหนังสือ แบ่งออกเป็น 3 เกรด คือ .1 ดินสอไส้อ่อน (SOFT) เป็นดินสอที่ใช้ในการแลเงาในงานศิลปะ 7 B 6 B 5 B 4 B 3 B 2 B B = ดำ (BLACK) 6.2 ดินสอไส้ปานกลาง (MEDIUM) เป็นดินสอที่ใช้ในการเขียนรูป และ ตัวหนังสือ 3 H 2 H H F HB B F = เริ่มแข็ง (FIRM) 6.3 ดินสอไส้แข็ง (HARD) เป็นดินสอที่ใช้ในการร่างภาพ 9 H 8 H 7 H 6 H 5 H 4 H H = แข็ง (HARD) งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

22 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
ดินสอกด ปัจจุบันนิยมใช้ดินสอกด เพราะสะดวก เส้นมีขนาดให้เลือกตามเหมาะสม เส้นเต็มใช้ขนาด 0.5 ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

23 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
7. ยางลบ (RUBBER) ใช้ในการลบแก้ไขงานที่ผิดพลาด ซึ่งจะต้องมีเนื้อนิ่มไม่ทำให้กระดาษเป็นขุยหรือขาด ที่มา ; 8. มีดเหลาดินสอ (CUTTER) ในการเหลาดินสอทำได้ทั้งแบบลิ่ม และแบบกรวย ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

24 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
9. กระดูกงูและบรรทัดโค้ง (FLEXIBLB CURVE & IRREGULAR CURVE) ใช้ในการเขียนส่วนโค้งที่วงเวียนเขียนไม่ได้ กระดูกงู ที่มา ; บรรทัดโค้ง งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

25 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
10. แผ่นแบบตัวอักษร (LETTERING TEMPLATE) ทำจากพลาสติกฉลุเป็นรูร่องตัวหนังสือ ใช้ทาบลงบนกระดาษเขียนแบบ แล้วเขียนตามร่องตัวหนังสือนั้น ๆ A B C D E F G H I J K L M O P Q R S T U V W X Y Z ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

26 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
11. ปากกาเขียนแบบ (PENS) เป็นปากกาชนิดหมึกแห้งเร็วใช้ในการเขียนแบบลงบนกระดาษไขเขียนแบบ ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

27 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
12. กระดาษเขียนแบบ (PAPER DRAWING) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งมีขนาดเรียกเป็นปอนด์ ที่นิยม คือ 80 และ 100 แกรม/ตร.ม. (Gsm=Gram per Square Metre ) กระดาษเขียนแบบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ กระดาษไขเขียนแบบ ใช้ในการกับปากกาเขียนแบบกระดาษเขียนแบบทั่วไป ขนาดกระดาษแบ่งตามมาตรฐานไอเอส (IS = INTERNATIONAL STANDARD) ได้ ดังนี้ 1189 A1 A2 A3 A4 A5 A6 420 x 594 841 594 x 841 cm. 210 x 297 cm. 276 x 420 cm. 105 x 148 cm. 148 x 210 cm. งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

28 ความกว้างยาวเป็นนิ้ว
ตารางแสดงขนาดกระดาษ มาตรฐาน IS : International Standard ขนาด ความกว้างยาวเป็น ม.ม. (ระบบเมตริก) ความกว้างยาวเป็นนิ้ว (ระบบอังกฤษ) หมายเหตุ A0 841 x 1189 33.11 x 46.81 A1 594 x 841 23.39 x 33.11 A2 420 x 594 16.54 x 23.39 A3 276 x 420 11.69 x 16.54 A4 210 x 297 8.27 x 11.69 A5 148 x 210 5.83 x 8.27 A6 105 x 148 4.13 x 5.83 ขนาดไปรษณียบัตร งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

29 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
13. สก๊อตเทปหรือเทปใส (TAPE) ใช้ในการติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ะเขียนแบบ ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

30 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
14. แปรงปัดผง (BRUSH) ใช้ในการปัดฝุ่นผงจากการใช้ยางลบ ที่มา ; 15. ผ้า ใช้ในการเช็ดเหงื่อมือ เครื่องมือ เพื่อป้องกันกระดาษเขียนแบบสกปรก ที่มา ; งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

31 เส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ
(LINE) วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

32 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
เส้น เส้น (LINE) คือ จุดที่ลากต่อเนื่องกันไปทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ซึ่งเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบมีดังต่อไปนี้ เส้นเต็ม (VISIBLE LINE) คือ เส้นที่ลากต่อเนื่องกันไปใช้ในการสร้างเส้นรูปในการเขียนแบบ เช่น เส้นตรง, เส้นโค้ง, เส้นซิกแซก วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

33 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. เส้นประ (HIDDEN LINE / DOTTED LINE) คือ เส้นที่ขีดสั้น ๆ ต่อเนื่องกันไป แต่ละเส้นยาว นิ้ว ห่างกัน นิ้ว ใช้แสดงภาพในส่วนที่ถูกบังหรือมองเห็นให้มองเห็น ยาว ระยะห่าง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

34 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. เส้นแสดงระนาบตัด (CUTTING PLANE) คือ เส้นที่ใช้ในการตัดชิ้นงานให้ออกเป็น 2 ส่วน เพื่อให้เห็นรายละเอียดหรือส่วนประกอบภายใน เส้นแสดงระนาบภาพตัด การนำไปใช้ แสดงรายละเอียดหลังจากตัด ทิศทางการหัน วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

35 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. เส้นแสดงศูนย์กลาง (CENTER LINE) เป็นเส้นที่ใช้แสดงจุดศูนย์กลางของรูปทรงกลมหรือทรงกระบอก โดยจะเขียนเส้นยาว นิ้ว ถึง นิ้ว ขีดเส้นสั้น นิ้ว เว้นช่องว่าง นิ้ว เส้นแสดงศูนย์กลางรูปทรงกลม วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

36 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
เส้นแสดงศูนย์กลางรูปทรงกระบอก ใช้แสดงเส้นผ่าศูนย์กลางของรูปทรงกระบอก วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

37 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5. เส้นกำหนดขนาด (EXTENTION LINE) คือ เส้นที่เขียนขึ้นตรงส่วนที่สุดความยาวหรือความกว้างของรูปด้านทุกด้าน โดยเขียนห่างเส้นรูป นิ้ว ห่างเส้นรูป นิ้ว เส้นกำหนดขนาดยาว วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

38 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
6. เส้นบอกขนาด (DAIMENTION LINE) คือ เส้นที่มีหัวลูกศรทั้งสองข้างโดยหัวลูกศร จะไปชนกับเส้นกำหนดขนาด ตรงกลางเว้นช่องว่างไว้เขียนตัวเลขบอกขนาด หัวลูกศรกว้าง 6นิ้ว ยาว นิ้ว หรือ 1 ใน 3 3 1 5 3 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

39 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
7. เส้นแสดงรอยตัด (BREAK LINE) เป็นเส้นที่มีลักษณะซิกแซก ใช้ในการแสดงให้ทราบว่าวัตถุ หรือชิ้นงานนั้นยังมียาวต่อไปอีกที่มีขนาด และรูปร่างเท่าเดิม ซึ่งเว้นไว้ในฐานที่เข้าใจและไม่ให้เปลืองพื้นที่การเขียน มีสองแบบ คือ เส้นแสดงรอยตัดระยะสั้น และเส้นแสดงรอยตัดระยะยาว เส้นรอยตัดระยะสั้น (SHORT BREAK LINE) วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

40 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
เส้นรอยตัดระยะยาว (LONG BREAK LINE) วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

41 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
เส้น เส้น (LINE) คือ จุดที่ลากต่อเนื่องกันไปทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ซึ่งเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบมีดังต่อไปนี้ เส้นเต็ม หรือเส้นแสดงแบบ (ANT LINE/VISIBLE LINE) คือ เส้นที่ลากต่อเนื่องกันไปใช้ในการสร้างเส้นรูปในการเขียนแบบ เช่น เส้นตรง, เส้นโค้ง, เส้นซิกแซก งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

42 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
2. เส้นประ (DASH LINE) คือ เส้นที่ขีดสั้น ๆ ต่อเนื่องกันไป แต่ละเส้นยาว นิ้ว ห่างกัน นิ้ว ใช้แสดงภาพในส่วนที่ถูกบัง (Hidden)หรือมองเห็นให้มองเห็น ยาว ระยะห่าง งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

43 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
3. เส้นแสดงระนาบตัด (CUTTING PLANE) คือ เส้นที่ใช้ในการตัดชิ้นงานให้ออกเป็น 2 ส่วน เพื่อให้เห็นรายละเอียดหรือส่วนประกอบภายใน เส้นแสดงระนาบภาพตัด การนำไปใช้ แสดงรายละเอียดหลังจากตัด ทิศทางการหัน งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

44 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
5. เส้นแสดงศูนย์กลาง (CENTER LINE) เป็นเส้นที่ใช้แสดงจุดศูนย์กลางของรูปทรงกลมหรือทรงกระบอก โดยจะเขียนเส้นยาว 1 นิ้ว เส้นเส้นสั้น 1/8 นิ้ว เว้นช่อง ว่าง 1/16 นิ้ว เส้นแสดงศูนย์กลางรูปทรงกลม งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

45 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
เส้นแสดงศูนย์กลางรูปทรงกระบอก ใช้แสดงเส้นผ่าศูนย์กลางของรูปทรงกระบอก งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

46 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
6. เส้นกำหนดขนาด (EXTENSION LINE) คือ เส้นที่เขียนขึ้นตรงส่วนที่สุดความยาวหรือความกว้างของรูปด้านทุกด้าน โดยเขียนห่างเส้นรูป 1/16 นิ้ว ห่างเส้นรูป 1/16 นิ้ว เส้นกำหนดขนาดยาว 3/8 นิ้ว งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

47 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
7. เส้นบอกขนาด (DAIMENSION LINE) คือ เส้นที่มีหัวลูกศรทั้งสองข้างโดยหัวลูกศร จะไปชนกับเส้นกำหนดขนาด ตรงกลางเว้นช่องว่างไว้เขียนตัวเลขบอกขนาด หัวลูกศรกว้าง 1/16 นิ้ว ยาว 1/8 นิ้ว หรือ 1 ใน 3 3 1 5 3 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

48 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
8. เส้นแสดงรอยตัด (BREAK LINE) เป็นเส้นที่มีลักษณะซิกแซก ใช้ในการแสดงให้ทราบว่าวัตถุ หรือชิ้นงานนั้นยังมียาวต่อไปอีกที่มีขนาด และรูปร่างเท่าเดิม ซึ่งย่อไว้ให้เข้าใจตรงกัน และไม่ให้เปลืองพื้นที่การเขียน มีสองแบบ คือ เส้นแสดงรอยตัดระยะสั้น และเส้นแสดงรอยตัดระยะยาว เส้นรอยตัดระยะสั้น (SHORT BREAK LINE) งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

49 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
เส้นรอยตัดระยะยาว (LONG BREAK LINE) งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

50 งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล
9. เส้นนำ (LEADER LINE) คือ เส้นลูกศรที่ใช้ในการชี้บอกหรืออธิบายรายละเอียด (DETAIL)ประกอบแบบ ขอบมอบเหล็กฉาก ¾” ผนังตู้ไม้อัด 20 ม.ม. งานเขียนแบบเบื้องต้น : วรวิทย์ ศรีสุพล

51 ชนิดของภาพที่ใช้ในการเขียนแบบ
วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

52 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) คือ ภาพที่มีมุม 30 องศา จากเส้นระดับ ถ้ารวมสามแกนจะได้ 120 องศา ภาพนี้บางทีเรียนกว่า “ภาพสามมิติ” มุมของเส้นที่ ใช้ในการเขียนคือมุม 30 องศา และ 90 องศา วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

53 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. .ติดกระดาษเขียนแบบลงบนโต๊ะเขียนแบบ โดยใช้ไม้ทีเกี่ยวกับขอบโต๊ะ ด้านซ้ายมือ และวางไม้เซ็ทให้ทำมุม 90องศา แล้ววางกระดาษเขียนแบบลงให้เข้ามุม ติดด้วยสก๊อตเทปทั้งสี่ด้าน 90° โต๊ะเขียนแบบ สก๊อตเทป กระดาษเขียนแบบ ไม้เซ็ท 180° ไม้ที วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

54 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. .เขียนเส้นระดับ 180 องศา โดยใช้ไม้ที 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

55 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. ขีดเส้นดิ่งหรือเส้นแกนกลางภาพ (90°) โดยใช้ไม้เซ็ทมุม 90 องศา ตั้งบนขอบสันไม้ที 90° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

56 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. ขีดเส้นยกระดับมุม 30องศา ทั้งทางซ้ายและทางขวา โดยใช้ไม้เซ็ทมุม 30 องศา ตั้งบนขอบ สันไม้ที 90° 30° 30° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

57 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5. ขีดเส้นดิ่ง 90 องศา ขนานกับเส้นแกนกลาง ตามความกว้างความยาวของภาพ 90° 90° 90° 180° สนใจหน่อยพรรคพวก วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

58 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
6. ขีดเส้นเอียง 30 องศา ตามขนาดความสูงของภาพที่กำหนด ซึ่งจะได้พื้นที่รูป ด้านหน้าและด้านข้าง (ใช้ไม้เซ็ทมุม 30 องศา ตั้งบนขอบสันไม้ที) และจะเกิดจุดตัด ที่มุมขอบด้านบนของภาพ ด้านหน้าและด้านข้าง 30° 30° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

59 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
7. ใช้จุดตัดที่มุมขอบด้านบนของภาพด้านหน้าและด้านข้าง ขีดเส้นเอียง 30 องศา เข้าหากัน ซึ่งจะเป็นผลทำให้เกิดพื้นที่ภาพด้านบน (ใช้ไม้ทีเซ็ทมุม 30องศา ตั้งบนขอบ สันไม้ที) 30° 30° บน ข้าง หน้า 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

60 ภาพไอโซเมตริกที่เสร็จสมบูรณ์
30° เส้นระดับ 180° 120° ภาพไอโซเมตริกที่เสร็จสมบูรณ์ 90° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

61 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
การเขียนภาพออบลิค (OBLIQUE) ภาพออบลิค (OBLIQUE) คือ ภาพด้านหน้าด้านบนยกทำมุม 45 องศา (ตามมุมมอง ISO.)กับเส้นระดับ (180 องศา) ภาพนี้จะใช้มุม 45องศา และ 90 องศา ซึ่งมีขั้นตอนในการเขียนดังนี้ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

62 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. .ขีดเส้นระดับ (180 องศา) 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

63 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. .ขีดเส้นแกนหรือเส้นดิ่ง (90°) โดยใช้ไม้เซ็ทมุม 90 องศา ตั้งบนขอบสันไม้ที 90° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

64 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. .ขีดเส้นมุม 45 องศา โดยใช้ไม้เซ็ทมุม 45 องศา ตั้งบนขอบสันไม้ที 90° 90° 45° 45° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

65 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. .ขีดเส้นดิ่ง (90°) ตามขนาดความกว้างของภาพด้านหน้า(90°) โดยใช้ไม้เซ็ทมุม 90 องศา ตั้งบนขอบสันไม้ที 90° 90° 90° 90° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

66 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5. .ขีดเส้นดิ่ง (90°) ตามขนาดความกว้างของภาพด้านข้าง 90° 90° 90° 90° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

67 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
6. .ขีดเส้น 180° จากเส้นระดับตามความสูงในเส้นแกนดิ่ง (ซึ่งจะได้พื้นที่ของภาพด้านข้าง) 90° 90° 180° 180° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

68 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
7. .ขีดเส้น 45° จากเส้นระดับตามความสูงดิ่ง (ซึ่งจะได้พื้นที่ของภาพด้านหน้า) 45° 45° 90° 90° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

69 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
8. .ขีดเส้น 45° จากจุดตัดที่เกิดจากการลากเส้น 180° ตัดกับเส้น 90° (เริ่มขีดจากมุมบนซ้ายของรูปด้านข้าง) 45° 45° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

70 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
9. .ขีดเส้น 180° จากจุดตัดที่เกิดกับความสูงกับความกว้างของภาพด้านตัดกัน 180° 180° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

71 ภาพออบลิคที่เสร็จสมบูรณ์
เส้นแกน 90° 45° เส้นระดับ 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

72 ภาพออบลิคพื้นฐานพร้อมที่จะนำไปปรับแต่ง
วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

73 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. สร้างสี่เหลี่ยมขนาด 110 x 60 x70 (ใช้มาตราส่วน 1:10) 180˚ 45˚ 45˚ 180˚ 90˚ 70 90˚ 90˚ 45˚ 180˚ 60 110 3. ลงหนักและให้ขนาดตามแบบในหน้า 2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

74 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
80 30 20 110 60 70 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

75 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ภาพเปอร์สเปคทีฟ (PERSPECTIVE) ภาพเปอร์สเปคทีฟ (PERSPECTIVE) เป็นภาพที่มีรูปร่างเหมือนจริงที่สุด คือส่วนที่อยู่ใกล้ตาจะโต และส่วนที่ไกลออกไปจะค่อย ๆ เล็กลง ๆ เป็นจุดอันตรธาน (VP. = VANISHING POINT) ภาพแบบนี้แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

76 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ขั้นตอนการเขียน ภาพเปอร์สเปคทีฟ 1 จุด (PERSPECTIVE 1 PIONT) วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

77 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1.ขีดเส้นระดับสายตา (EYE LEVEL) ที่มีมุม 180องศา 180° 180° EYE LEVEL วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

78 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. ขีดเส้นแกนภาพ 90° 90° 90° 180° 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

79 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. กำหนดจุดอันตธาน (VP) แล้วขีดโยงมายังเส้นแกนตามขนาดความสูงของภาพ VP VP EYE LEVEL วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

80 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. ขีดเส้น 90° ตามขนาดความกว้างของภาพ 90° 90° VP วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

81 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5. ขีดเส้น 180° ตามขนาดความสูงของภาพที่กำหนด 180° 180° VP 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

82 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
6. ขีดเส้น 90° ตามความยาวของภาพด้านข้างที่กำหนด 90° 90° VP 180° วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

83 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
7. ขีดเส้นเอียงตามมุมของจุด VP ซึ่งจะได้รูปด้านข้าง VP EYE LEVELEYE วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

84 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ภาพเปอร์สเปคทีฟ 1 จุด ที่เสร็จสมบูรณ์ VP เส้นระดับสายตา EYE LEVEL วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

85 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ภาพเปอร์สเปคทีฟ 1 จุด หน้า ข้าง วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

86 ภาพเปอร์สเปคทีฟที่อยู่ใน 3 ระดับ
VP ระดับสายตา EYE LEVEL เหนือระดับสายตา ABOVE EYE LEVEL ใต้ระดับสายตา BELO EYE LEVEL ล่าง ข้าง บน วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

87 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ขั้นตอนการเขียน ภาพเปอร์สเปคทีฟ 2 จุด (PERSPECTIVE 2 POINT) วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

88 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
1. .ลากเส้นระดับสายตา (EYE LEVEL) และกำหนดจุด VP. ทั้งสองข้าง 180° VP1 VP2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

89 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
2. .ลากเส้นแกน 90° (LINE OF SIGHT) ให้ตั้งฉากกับเส้นระดับสายตา 90° VP1 VP2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

90 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
3. .ลากเส้นมุมภาพ (ANGLE OF VIEW) จากจุด VP1 และ VP2 ให้ทำมุมฉากกัน VP1 VP2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

91 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
4. กำหนดความสูงของภาพตามเส้นแกน แล้วลากเส้นไปยังจุด VP1 และ VP2 VP1 VP2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

92 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
5 . กำหนดความกว้างยาวของภาพที่จุด A และ B แล้วลากเส้นไปยังจุด VP1 และ VP2 VP1 VP2 A B วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

93 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
6. .ลากเส้นความสูงของขอบภาพ (90°) ทั้งสองด้าน VP1 VP2 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

94 วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน
ภาพเปอร์สเปคทีฟ 2 จุด ที่เสร็จสมบูรณ์ VP1 VP2 เส้นระดับสายตา วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

95 ภาพเปอร์สเปคทีฟ 2 จุด ใต้ระดับสายตา
บน ข้างซ้าย ข้างขวา วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน

96 4. ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
1 ทำความเข้าใจกับสถานการณ์ 2 กำหนดปัญหาที่สำคัญและชัดเจน 3 วิเคราะห์หาสาเหตุที่สำคัญ 4 หาวิธีแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ 5 เลือกวิธีแก้ปัญหาที่ดี่สุด 6 วางแผนปฏิบัติ 7 ติดตามประเมินผล วรวิทย์ ศรีสุพล : Ptt งานช่างพื้นฐาน


ดาวน์โหลด ppt วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระงานช่าง) รหัสวิชา ง 22102

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google