ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
2 ตาม พ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ. ศ ******************* กำหนดให้ อ. ก. พ. กระทรวง เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
งานบริการการศึกษา.
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
การดำเนินงานเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIV รอบที่ 33 ปี 2558 จังหวัดตราด
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
กรณีศึกษ าที่ 2 ( แบบ ปย.2) กรณีศึกษา อุทยาน แห่งชาติน้ำตกพลิ้ว.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
ศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ
BLSC, Department of Livestock Development
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงาน กระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดสมุทรสงคราม คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ผลปฏิบัติงานในรอบ TOR 2/60 กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2560
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
คำแนะนำจากส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560 การเก็บและนำส่งตัวอย่าง ปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 26 มิถุนายน 2560

Out line สิ่งสำคัญในการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ คำแนะนำในการเก็บและนำส่งตัวอย่าง การเก็บและนำส่งตัวอย่างปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน

การวางแผนในการเก็บตัวอย่าง กำหนดเชื้อหรือสารที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ ชนิดตัวอย่าง/ช่วงเวลาการเก็บเหมาะสม วิธีการเก็บตัวอย่างถูกต้อง ปลอดภัย ปริมาณพอเพียงและอาหารนำส่ง ข้อควรระวัง/ปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์/เกณฑ์การปฏิเสธตัวอย่าง

การวางแผนในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การนำส่ง/บรรจุตัวอย่างได้ถูกต้อง/ส่งพร้อมแบบนำส่งตัวอย่างตามที่กำหนด นำส่งไปยังห้องปฏิบัติการรวดเร็ว/กรณีส่งไม่ได้มีการรักษาสภาพเหมาะสม เลือกห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ - ประสานงานการส่งตรวจตัวอย่าง/ การรายงานผล/ ค่าใช้จ่าย

บทบาทของไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ไอโอดีนมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญของระบบประสาท ของทารกตั้งแต่ในครรภ์จนถึง 2 ขวบ หญิงตั้งครรภ์ต้องการไอโอดีนมากกว่าคนปกติ ทารกต้องการไอโอดีนในการผลิตไทรอยด์ฮอร์โมน หญิงตั้งครรภ์ที่มีการกำจัดไอโอดีนทางไตเพิ่มขึ้น

การเก็บและนำส่งตัวอย่าง ( 0.5 % sodium hypochlorite) ( 0.5 % sodium hypochlorite) กระปุกเก็บปัสสาวะพันด้วยพาราฟิล์ม ระบุ ชื่อ-สกุล และลำดับที่ตัวอย่าง นำกระปุกตัวอย่างใส่ในถุงซิบ ใบนำส่งตัวอย่างใส่นอกกล่อง พร้อมส่ง ศวก.ที่ 8 อุดรธานี บรรจุตัวอย่างที่แพ็กเสร็จแล้ว ลงในกล่องโฟม ที่มี ice pack

การบรรจุตัวอย่าง บรรจุตัวอย่างลงในภาชนะที่ปิดมิดชิด เหมาะสม ห้าม ไม่ให้ตัวอย่าง มีการลอยบนน้ำแข็ง

การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง ปัสสาวะ อย่างน้อย 10 มิลลิลิตร (ใส่ในกระปุกเก็บปัสสาวะ ปิดฝากระปุกให้แน่นสนิทพันด้วยพาราฟิล์ม) เขียน ชื่อ-สกุล และ ลำดับที่ตัวอย่าง ของหญิงตั้งครรภ์ให้เรียบร้อย นำ กระปุกตัวอย่างใส่ในถุงซิบหรือถุงพลาสติก (หนึ่งตัวอย่างต่อหนึ่งถุง) ปิดปากถุงซิบหรือถุงพลาสติกให้สนิทเพื่อป้องกันตัวอย่างปัสสาวะหกเปรอะเปื้อน

การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การเก็บรักษาตัวอย่างปัสสาวะรอส่ง - เก็บที่ อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส ส่งภายใน 24 ชั่วโมง - เก็บที่ อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส (ช่องแช่แข็ง) (เก็บที่ช่องแช่แข็งได้จนกว่าจะจัดส่ง หากไม่สามารถนำส่ง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี ได้ภายใน 24 ชั่วโมง)

การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปริมาณ และภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง (ต่อ) การนำส่งตัวอย่างไปที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี ควรแช่เย็น ตลอดการนำส่ง กำหนดส่งตัวอย่าง ทุกวันอังคาร/พุธ ทุกสัปดาห์ ในเวลาราชการ หรือโทรประสานงานการส่งตัวอย่าง กับผู้ประสานงานของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี

ค่าใช้จ่ายและระยะเวลาการรายงานผล    ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ - ระยะเวลา 14 วันทำการ การรายงานผลการวิเคราะห์ - รายงานผลเป็นค่า Unit ค่าตรวจวิเคราะห์ - 80 บาท/ตัวอย่าง

แนวทางการส่งตัวอย่างปัสสาวะ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี รพสต. โรงพยาบาล, สสจ. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี

เอกสารสำหรับการนำส่งตัวอย่าง แบบนำส่งตัวอย่างปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์ ทะเบียนคุมการเก็บตัวอย่าง (ใบสรุปจำนวนตัวอย่างที่ส่งทั้งหมด)

แบบฟอร์ม นำส่งตัวอย่าง ใส่ลำดับที่ตัวอย่างให้ตรงกับแบบฟอร์มคุมการเก็บตัวอย่าง

แบบฟอร์ม ทะเบียนคุมการเก็บตัวอย่าง

การนำส่งตัวอย่าง กระปุกบรรจุตัวอย่างปิดให้สนิทพันด้วยพาราฟิล์ม ติดป้าย ชื่อ-สกุล และลำดับที่ตัวอย่าง หญิงตั้งครรภ์ นำส่งแบบแช่เย็น ใส่ ice pack แนบจดหมายจากหน่วยงานและแบบส่งตัวอย่างปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์

การนำส่งตัวอย่าง (ต่อ) บรรจุใส่กล่องโฟม/กระติกที่มี ice pack / แยกใบนำส่งตัวอย่าง

การตรวจไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ จัดส่งรายงานผล จัดพิมพ์รายงาน ตรวจวิเคราะห์ตามกระบวนการ ลงทะเบียนเข้าระบบ ตรวจเช็คความถูกต้องของตัวอย่างกับใบนำส่ง 18

วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี Modified microplate method Standards Urine QC Blank 250 μl 250 μl 250 μl 250 μl

วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) Ammonium persulfate solution 1 ml 1 mol/L Urine Standards QC Blank 91-95 °C

วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) สารละลายที่ย่อยแล้ว 50 μl Arsenic acid solution 100 μl

วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ)

วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) Ceric ammonium sulfate solution 30 min ; RT

วิธีการตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี Modified microplate method (ต่อ) 405 nm

ข้อควรระวัง/ปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์ การปิดฝาภาชนะบรรจุไม่สนิททำให้เกิดการรั่วไหล และปนเปื้อน มีผลกระทบด้านความปลอดภัยและผลต่อระดับปริมาณไอโอดีน ชื่อ-สกุล ของตัวอย่างไม่ตรงกันกับใบนำส่ง ระบุลำดับตัวอย่างให้ชัดเจน (ภาชนะบรรจุ แบบนำส่ง และแบบฟอร์มทะเบียนคุม) ปริมาณตัวอย่างน้อยกว่า 10 มล.

ข้อควรระวัง/ปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์ 5. ตัวอย่างมีราขึ้น การเก็บรักษาตัวอย่างปัสสาวะรอส่ง - เก็บที่ อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส ส่งภายใน 24 ชั่วโมง - เก็บที่ อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส (ช่องแช่แข็ง) - เก็บตัวอย่างไว้ไม่เกิน 7 วัน 6. แจ้งประสานงานก่อนส่งตัวอย่างพร้อมรายชื่อผู้ประสานงานชัดเจน

สถานที่ส่งตัวอย่าง ตรวจหาไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มชันสูตรสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 54 ม.1 ต.หนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี 41330 โทรศัพท์ 042-207364 ต่อ 106, 108, 110 โทรสาร 042-207369 27

ผู้ประสานงาน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี 1. นางสาววิภาภรณ์ วิชน นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร.080-1851496 2. นายสุพัฒชัย ปราบศัตรู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร. 094-2852924 3. นางบุญนิภา สุวรรณกาล นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทร. 081-8727244 , 091-8624002 Thank you for your attention