มาฝึกสมองกันครับ
สำนวน ภาษิต และคำพังเพย
กิจกรรม “สำนวนนี้คืออะไร”
เสือเฒ่าจำศีล
ข้าวเหลือเกลืออิ่ม
จับปลาสองมือ
สำนวน สำนวน คือ ถ้อยคำที่คมคาย สละสลวย กะทัดรัด เข้าใจง่าย อาจเป็นการกล่าวเปรียบเทียบ เปรียบเปรย หรือแฝงความหมายโดยนัย
รักวัวให้ผูกรักลูกให้ตี
คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
ภาษิต ภาษิต คือ คำกล่าวที่มีคติสอนใจ มีความหมายลึกซึ้งกินใจ กล่าวสืบทอดต่อ ๆ กันมาเป็นถ้อยคำสั้น ๆ ง่ายต่อการเข้าใจ เป็นการมุ่งชี้นำสั่งสอน ตักเตือนให้ได้คิด
กิ้งก่าได้ทอง
คางคกขึ้นวอ
ปลาติดแห
คำพังเพย คำพังเพย คือ คำที่กล่าวเปรียบเปรย มีลักษณะเป็นการติชมหรือแสดงความคิดเห็นเป็นคติเตือนใจให้คิด มิได้มุ่งเน้นเพื่อการสั่งสอนโดยตรง
ประเภทของสำนวน ภาษิต คำพังเพย ● หมาหัวเน่า ● ดาบสองคม ● ใหญ่พร้าวเฒ่าลอกอ ● บ้านนอกคอกนา ● ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ ● คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ ● คนล้มอย่าข้าม เป็นคติมุ่งสอน สำนวน ภาษิต คำพังเพย แบ่งเป็น ๔ ประเภท เป็นแบบอุปมาอุปไมย เป็นสำนวนเปรียบเทียบ เป็นคำอ้าง โดยนำ ความจริงมากล่าวอ้าง ๒. ประเภทของภูมิปัญญาทางภาษา ๒.๑ สำนวน ภาษิต คำพังเพย ๑) ครูให้นักเรียนศึกษาประเภทของสำนวน ภาษิต คำพังเพย แล้วร่วมอภิปรายทั้งชั้นเรียน และให้อาสาสมัครสรุปให้เพื่อนฟัง ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงประเภทของสำนวน ภาษิต คำพังเพย แล้วอธิบายเพิ่มเติม ● ใจกว้างเหมือนแม่น้ำ ● เงียบเป็นเป่าสาก ● กระโถนท้องพระโรง ● วัวพันหลัก ● ปลาติดหลังแห ● ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก
คุณค่าของสำนวน ภาษิต คำพังเพย ๑. เป็นเครื่องมืออบรมสั่งสอน และควบคุมความประพฤติของคนในสังคม ๒. รู้ถึงคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม วิถีชีวิตของคนสมัยก่อน ๓. นำไปใช้ในการพูด เขียน หรือติดต่อสื่อสารให้ชัดเจนขึ้น ๒. ประเภทของภูมิปัญญาทางภาษา ๒.๑ สำนวน ภาษิต คำพังเพย ๑) ครูให้นักเรียนสรุปคุณค่าของสำนวน ภาษิต คำพังเพย โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงคุณค่าของสำนวน ภาษิต คำพังเพย และอธิบายเพิ่มเติม ๔. เป็นเอกลักษณ์ทางภาษา มีความงดงามของภาษาที่ใช้