บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Advertisements

Lesson 11 Price.
Production and Cost.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
Click when ready  Wang991.wordpress.comWang991.wordpress.com Stand SW 100 SETS.
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ตลาดและการแข่งขัน.
วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
ตลาด ( MARKET ).
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ศ.432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
ผังการบริหารจัดการน้ำ
Foundations of Economic Thinking:
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
การสัมมนาเวทีสาธารณะ
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
จำแนกประเภท ของสาร.
การจัดการองค์ความรู้
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
A.Petcharee Sirikijjakajorn
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
การจำแนกสารรอบตัว โดย ครูวนิดา สวนดอกไม้
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
หนังสือ “วารสารศาสตร์เบื้องต้น:ปรัชญาและแนวคิด
Analyst Conference Q3/2009 October 27, 2009.
การเลี้ยงไก่ไข่.
สิ่งที่ควรพิจารณาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ผศ. ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
Competitive advantage Team Financial
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Probability and Statistics for Computing
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
บทที่ 7 การตลาดธุรกิจขนาดย่อม
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ตัวอย่างที่ 2.11 วิธีทำ.
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
Air-Sea Interactions.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์

การกำหนดราคาสินค้าในตลาด โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จำแนกตลาดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ I. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect competition) II. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect competition) - ตลาดผูกขาด (Pure monopoly) - ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) - ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic competition)

การแบ่งโครงสร้างของตลาดพิจารณาจากเงื่อนไขต่างๆ ดังนี้ จำนวนผู้ขายในตลาด ความแตกต่างของสินค้า ความยากง่ายในการเข้าสู่ตลาด

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีลักษณะดังนี้ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีลักษณะดังนี้ มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากราย ลักษณะของสินค้ามีลักษณะใกล้เคียงกันมาก (homogeneous product) การเข้าออกจากตลาดทำได้โดยเสรี (free entry) เงื่อนไข 3 ข้อข้างต้น ทำให้ผู้ขายไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าได้ ผู้ซื้อและผู้ขายต่างมีความรู้เรื่องตลาดเป็นอย่างดี (perfect knowledge) การเคลื่อนไหวของสินค้าและปัจจัยการผลิตเป็นไปอย่างเสรี (free mobility)

ลักษณะของเส้นอุปสงค์ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายเป็นผู้ยอมรับราคา P P S P=D=AR=MR E Pe Pe D Q Qe

ดุลยภาพผู้ผลิตในระยะสั้น ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ที่ต้องการกำไรสูงสุด จะมีเงื่อนไขดังนี้ คือ ผลิตที่ปริมาณการผลิต MR = MC Profit = TR-TC, Profit/Q = TR/Q-TC/Q =AR-AC

กรณีที่ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ (Normal Profit) เงื่อนไขการผลิตที่ผู้ผลิตได้รับกำไรสูงสุด คือ MR = MC

กรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายได้รับกำไรเกินปกติ กรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายขาดทุน

กรณีที่ผู้ผลิตขาดทุน ที่จุด C ผู้ผลิตจะขาดทุน ต้นทุนคงที่บางส่วน ที่จุด D ผู้ผลิตจะขาดทุน ต้นทุนคงที่ทั้งหมด

การผลิตในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะกำไรปกติ LMC=MR, LAC=AR

ตลาดผูกขาด (Monopoly) โครงสร้างของตลาดผูกขาด - มีผู้ผลิตหรือผู้ขายรายเดียว - สินค้าของผู้ผลิตไม่สามารถหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ - การเข้ามาแข่งขันในตลาดทำไม่ได้ - เส้นอุปสงค์ของตลาดเป็นเส้นเดียวกับอุปสงค์ในสินค้าของผู้ผลิต

ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด เงื่อนไขของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR

ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด เงื่อนไขของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR

สรุป ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ - ระยะสั้น ผู้ผลิตอาจได้รับกำไรปกติ กำไรเกินกว่าปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด - ระยะยาว ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะ กำไรปกติ เท่านั้น ตลาดผูกขาด - ในระยะสั้น ผู้ผลิตจะได้รับกำไรเกินปกติ, กำไรปกติ หรือขาดทุน ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด -ในระยะยาว ผู้ผลิตมีแนวโน้มจะได้รับ กำไรเกินปกติ

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดและตลาดผู้ขายน้อยราย Oligopoly and Monopolistic Competition

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด - สินค้าของผู้ขายมีความแตกต่างกัน เช่น รูปแบบของผลิตภัณฑ์ต่างกัน หรือ การบรรจุหีบห่อแตกต่างกัน - มีผู้ซื้อผู้ขายจำนวนมากราย และผู้ขายแต่ละคนสามารถควบคุมราคาสินค้าได้บ้าง - การแข่งขันทางด้านการขาย จะอาศัยการโฆษณาส่งเสริมการขาย - เส้นอุปสงค์ในสินค้าเป็นเส้นทอดลงจากซ้ายมาขวา มีค่าความชันเป็นลบ แต่จะมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าตลาดผูกขาด

ดุลยภาพในระยะสั้นของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

สรุป ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด - ระยะสั้น ผู้ผลิต มีแนวโน้มจะได้รับกำไรเกินปกติ กำไรปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด (P is higher than P in Perfect competitive market but lower than P in Monopoly, Q is less than Q in PC but greater than P in Monopoly) - ระยะยาว ผู้ผลิต มีแนวโน้มจะได้รับกำไรปกติ

ตลาดผู้ขายน้อยราย มีผู้ขายเพียง 2-3 รายในตลาด สินค้าอาจจะเหมือนกันหรือแตกต่างกันก็ได้ แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ ผู้ผลิตขาดอิสระในการกำหนดราคา มักจะรวมหัวกันตั้งราคาเพื่อให้ได้กำไรสูงสุดร่วมกัน ดังนั้นราคาจะตายตัว เส้นอุปสงค์ของสินค้าเป็นเส้นหักงอ

ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย

ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย ปริมาณ และ ราคาดุลยภาพ ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงขนาดของกิจการ และความยากง่ายที่ผู้ผลิตใหม่จะเข้าสู่ตลาด เน้นการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา (โฆษณา พัฒนาคุณภาพสินค้า )