งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสัมมนาเวทีสาธารณะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสัมมนาเวทีสาธารณะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสัมมนาเวทีสาธารณะ
“กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้ากับการเจรจาต่อเนื่องภายใต้ FTA ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-นิวซีแลนด์ และไทย-ญี่ปุ่น” พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA : การเจรจาด้านนโยบายการแข่งขัน โดย นายยุตินธร์ ประจันตบริบาล ผู้อำนวยการกลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์และกิจการต่างประเทศ สำนักสารสนเทศการค้าในประเทศ กรมการค้าภายใน 20 กันยายน 2554 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ

2 แหล่งข้อมูลสนับสนุนการสัมมนา
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ผลการศึกษา/วิจัย กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ กองนิติการ สำนักส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า

3 หัวข้อการสัมมนา 1. พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี 3. ลักษณะกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของประเทศภาคี 4. ลักษณะและการพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย

4 1. พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
รมว.พณ. เป็นประธาน ปลัด พณ. เป็นรองประธาน ปลัด กค. + ผู้ทรงคุณวุฒิ (8-12 คน) แต่งตั้งโดย ครม. มีภาคเอกชนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง พรบ. กำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ. 2522 พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 โครงสร้างและความเป็นอิสระของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง (4-6 คน) คณะอนุกรรมการสอบสวน (1+1-4 คน)

5 2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี
JTEPA : บังคับใช้ 1 พ.ย. 2550 ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นธรรมและเสรีโดยห้ามกิจกรรมที่จำกัดการแข่งขัน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของแต่ละฝ่าย โดยไม่เลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของสัญชาติ พรบ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542

6 2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี (ต่อ)
TAFTA : บังคับใช้ 1 ม.ค. 2548 anti-competitive horizontal arrangements between competitors misuse of market power, including predatory pricing anti-competitive vertical arrangements anti-competitive mergers and acquisitions มาตรา 27 (ตกลงร่วมกัน) มาตรา 25 (อำนาจเหนือตลาด) มาตรา 29 (พฤติกรรมการค้าที่ไม่เป็นธรรม) มาตรา 26 (การควบรวมกิจการ)

7 2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี (ต่อ)
TNZCEP : บังคับใช้ 1 ก.ค. 2548 anti-competitive horizontal arrangements between competitors misuse of market power, including predatory pricing anti-competitive vertical arrangements anti-competitive mergers and acquisitions มาตรา 27 (ตกลงร่วมกัน) มาตรา 25 (อำนาจเหนือตลาด) มาตรา 29 (พฤติกรรมการค้าที่ไม่เป็นธรรม) มาตรา 26 (การควบรวมกิจการ)

8 3. ลักษณะกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของประเทศภาคี
ญี่ปุ่น : JFTC ออสเตรเลีย : ACCC, NCC นิวซีแลนด์ : NZCC Anti-monopoly Act (AMA) 1947 Subcontract Act 1956 Premiums and Misleading Representations 1962 Involvement Prevention 2002 Trade Practice Act 1974 National Competition Policy 1992 - Commerce Act 1986

9 4. ลักษณะและพัฒนาการของกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย
จาก พรบ. กำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ. 2522 พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 โครงสร้างและความเป็นอิสระของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย โครงสร้างคณะกรรมการ ขั้นตอน รมว.พณ. เป็นประธาน ปลัด พณ. เป็นรองประธาน ปลัด กค. + ผู้ทรงคุณวุฒิ (8-12 คน) แต่งตั้งโดย ครม. มีภาคเอกชนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง (4-6 คน) คณะอนุกรรมการสอบสวน (1+1-4 คน)

10 การปรับปรุงและพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย
4. ลักษณะและพัฒนาการของกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย (ต่อ) การปรับปรุงและพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย ประเด็นการปรับปรุง ขั้นตอนการดำเนินการ การกำหนดให้รัฐวิสาหกิจที่ประกอบธุรกิจเชิงพาณิชย์อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกา การปรับโครงสร้างคณะกรรมการฯ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย ตั้งคณะทำงาน

11 สรุปประเด็นการสัมมนา
1. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรีต่างๆ ในขณะนี้ยังเป็นการกำหนดหลักการกว้างๆ และเน้นความร่วมมือระหว่างกัน แต่ในอนาคตการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันจะทวีความเข้มข้นมากขึ้นตามระดับความพร้อมของประเทศภาคี เช่นเดียวกับนโยบายด้านอื่นๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ 2. กฎหมายการแข่งขันทางการค้าควรมีการพัฒนาปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการประกอบธุรกิจและสภาพเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา อันจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นที่น่าเชื่อถือ


ดาวน์โหลด ppt การสัมมนาเวทีสาธารณะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google