Learning (Learned behavior) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากได้รับสิ่งเร้าหรือประสบการณ์ Thorpe (1963) : leaning adaptive response อันเป็นผลเนื่องจากการมีประสบการณ์ในอดีต โดยเป็น interaction ทั้งของ gene + environment + maturation + experience
Develpment of Behavior การพัฒนาพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของสัตว์ เช่น การพัฒนาของ sexual behavior ใน vertebrates มีส่วนสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของ gonad บางพฤติกรรมมีส่วนสัมพันธ์กับพัฒนาการของระบบประสาทเรียกว่า Maturation พฤติกรรมจะเจริญไปพร้อมกับพัฒนาการ เช่น :- Spalding (1873) ทดลองเลี้ยงนกนางแอ่นไว้ในกรงที่มีขนาดเล็กมาก ต่อมาปล่อยออกจากกรง นกไม่สามารถกางปีกบินได้ดีเท่านกธรรมดา ปกติความสามารถในการบินจะมีขึ้นได้เมื่อนกเจริญเติบโตเต็มวัยไม่มีการฝึกหัด บ่งชี้ว่าความชำนาญในการบินต้องมีการฝึกหัดร่วมด้วย
Cruze (1935) ทดลองให้เห็นพฤติกรรมมีการ Improve ขึ้นตามอายุเมื่อมีการฝึกหัด 12 hrs. ด้วยแล้ว ยิ่งทำให้จิกเมล็ดข้าวผิดน้อยลง โดยทดลองในไก่ 25 ตัว ให้จิกเมล็ดข้าว เมื่อลูกไก่มีอายุต่างกันโดยไม่มีการฝึกหัดและมีการฝึกหัด 12 hrs. Age (hrs) Practice (hrs) AV.misses (25 peeks) 24 48 72 96 120 12 6.04 1.96 4.32 1.76 3.00 0.76 1.88 0.16 1.00
ระหว่างการพัฒนาการพบว่าบางพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นสัญชาตญาณ (Instinct) และถูกทำให้ดีขึ้นโดย learning เช่น:- ใน Rhesus monkeys ตัวผู้ที่แยกเลี้ยงไว้เพียงตัวเดียว เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์จะแสดงอาการตื่นเต้นเมื่อเห็นตัวเมีย และพยายามจะผสมกับตัวเมียด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้องและเป็นไปด้วยความลำบาก ซึ่งต่างจากตัวผู้ที่อยู่รวมกับตัวอื่นๆ มาก่อน จะพัฒนาแบบอย่างของพฤติกรรมได้ดีกว่าเพราะได้รับการฝึกหัดในระหว่างที่อยู่ด้วยกันและเล่นกัน
พฤติกรรมการกินอาหารของลิง Japanese macaques บนเกาะกาชิมา ถ้าเลี้ยงด้วยมันฝรั่ง และบางครั้งก็เลียนแบบกันเรื่อยมา ตั้งแต่ครอบครัวของเพื่อเล่นต่างครอบครัว ในตอนแรกล้างด้วยน้ำจืด เมื่อสัตว์มีประสบการณ์เกิดการเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและกายวิภาคของระบบประสาทจำเป็นต้องมีความทรงจำ (memory) ที่เป็นตัวเก็บประสบการณ์นั้นไว้ นักวิทยาศาสตร์บางท่านบอกว่าสัตว์จะเก็บความทรงจำไว้ใน DNA ของเซลล์ประสาท
Types of Learned behavior I. Imprinting (การฝังใจ) รับสิ่งเร้าแรกสุดภายหลังเกิดและต้องได้รับภายในช่วงเวลาวิกฤต (Critical period)/ช่วงใดๆ ของชีวิต ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทันที/ภายหลัง ปรากฏชั่วระยะหนึ่ง/ตลอดไป พบครั้งแรกในนก ต่อมาพบใน mammals (ปลา, Arthropods)
Ex. Lorenz (1935) พบว่า ลูกนก ลูกห่าน ลูกวัว ลูกควาย เมื่อฟักออกจากไข่/คลอดแล้วตัวอ่อนจะเดินตามวัตถุแรกที่เคลื่อนที่และส่งเสียงได้ ที่มันเห็นและเกิดความผูกพันกับวัตถุนั้นซึ่งในธรรมชาติก็คือแม่ของมัน พฤติกรรมการฝังใจอาจเกิดจากการได้รับสิ่งเร้าที่เป็นภาพ วัตถุ เสียง กลิ่น และผูกพันกับสิ่งเร้านั้น เช่น เอาไข่นกยูงให้แม่ไก่ฟัก ลูกนกยูงจะเดินตามแม่ไก่ตัวที่กกมัน ฝังใจต่อวัตถุ แมลงหวี่วางไข่บนมะเดื่อที่ฟักออกจากไข่มาครั้งแรก หรือวางไข่บนมันสะระแหน่ (ปกติแมลงหวี่ไม่ชอบกลิ่นสะระแหน่) ที่ฟักออกจากไข่ ฝังใจต่อกลิ่น
การว่ายน้ำกลับไปวางไข่ยังบริเวณแม่น้ำเดิมที่เกิดของปลา Salmaon ฝังใจต่อกลิ่น ลูกห่าน graylag goose เดินตาม Lorenz ที่พบครั้งแรก บางกรณีสัตว์จะเกิด Imprinting จากการได้รับทั้ง Visual stimuli & auditory stimuli เช่นใน Wood ducts จะวิ่งเข้าหาตัวแม่เมื่อได้ยินเสียงแม่ร้องเรียกและตรงไปซุกอยู่กับตัวแม่ Boyd & Fabricus (1965) พบว่าในลูกเป็ด Mallard จะไม่ออกจากรังเลยจนกว่า 2 วัน หลังจากฟักออก ซึ่งช่วงระหว่างนั้นจะใช้เวลาในการ Imprint ซึ่งกันและกัน Sexual imprinting ของไก่ซึ่งฝังใจในเป็ดจึงพยายามจะเข้าใกล้เป็ด เป็ดตัวผู้ที่อยู่ร่วมกันนานๆ 6 – 7 ปี จะไม่สนใจตัวเมีย การผสมพันธุ์เฉพาะสัตว์ใน species เดียวกัน
การเลี้ยงสุนัขทำให้สุนัขยอมรับทั้งคนและพวกมันเองเป็น Social patterns Imprinting ที่เกิดใน Mammals มีส่วนในการพัฒนาการทางสังคมของสัตว์นั้นๆ เช่น ลูกเกาะที่คนเอามาเลี้ยงจะเดินตามคนเลี้ยง สุนัขมีช่วง Sensitive period อยู่ในช่วงอายุ 3–10 weeks การเลี้ยงสุนัขทำให้สุนัขยอมรับทั้งคนและพวกมันเองเป็น Social patterns Harlow (1962) ทดลองเลี้ยง Rhesus monkey โดยไม่มีพ่อแม่ พบว่าเมื่อโตขึ้นลิงตัวนี้ไม่ค่อยแสดงพฤติกรรมในการเลี้ยงลูกของมัน บางครั้งยังแสดงการข่มขู่อีกด้วย เพราะฉะนั้นตัวแม่ไม่เคยได้รับการเรียนรู้ในการอยู่ร่วมกับตัวอื่น
ตัวอย่าง Imprinting :- 1. Lorenz (1935) พบว่าลูกนก ลูกห่าน ลูกวัว ลูกควาย เมื่อฟักออกจากไข่/คลอดออกมาแล้ว ตัวอ่อนจะเดินตามวัตถุแรกที่เคลื่อนที่และส่งเสียงได้ 2. แมลง, Drosiphila sp. จะกลับมาวางไข่บนพืชชนิดที่เกิด 3. Salmon ว่ายน้ำกลับไปวางไข่ยังแม่น้ำเดิมที่เกิด 4. การผสมพันธุ์เฉพาะสัตว์ใน Species เดียวกัน 5. ลูกแกะเดินตามคนเลี้ยง 6. สุนัขมี Social partners ยอมรับทั้งคนและสุนัขด้วยกัน ถ้าได้อยู่กับคนและสุนัขด้วยกันในช่วง Sensitive period ระหว่างช่วงอายุ 3 – 10 weeks 7. Sexual imprinting ของไก่ซึ่งฝังใจในเป็ดโดยพยายามจะเข้าหาเป็ด 8. การพัฒนา normal sexual & social response ของคนซึ่ง Critical period อยู่ในช่วง 1½ ปีถึง 6ปี ลูกลิง Rhesus เดินเข้ากอดวัตถุที่อ่อนนุ่นและมีขวดนม
ความสำคัญของ Imprinting :- 1. Imprinting ในนก จะทำให้ลูกนกมีการตอบสนองเป็นแบบ following response มีผลในทาง evolution เกี่ยวกับความอยู่รอด เช่น การที่เดินใกล้แม่เมื่อมีศัตรูก็จะหนีภัยได้ 2. Continuity of Species ตัวผู้ตัวเต็มวัย มีการเลือกคู่และจะเลือกตัวเมียที่อยู่ใน species เดียวกัน ทำให้ได้ลูกที่ไม่เป็นหมัน 3. Normal sexual & Social response development ในคน การพัฒนาของ normal sexual และ social response ขึ้นกับการเลี้ยงดูของพ่อแม่
ลูกห่านเดินตาม ดร.ลอเรนซ์ ซึ่งเกิดพฤติกรรมฝังใจของลูกห่าน
II. Habituation (ความเคยชิน) พฤติกรรมที่สัตว์/คน ลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้า จนท้ายที่สุดไม่ตอบสนองเลย (decrease stop) ช่วยลดการใช้ ATP Simplified learning สัมพันธ์กับ Cerebrum เป็นการทำให้ลูกคุ้นเคย เคยชิน ต่อสิ่งเร้า จนเกิดเป็นกิจวัตรประจำวัน Ex. ครั้งแรกๆ ตกใจกระโดดหนี chain of reflexes 1. นำกบใส่อ่างแล้วเคาะ ครั้งนานๆ ไม่กระโดด Habituation
2. นก, กา บินเข้าเกาะบนหุ้นไล่กา 3. Tube dwelling Polychaete 2. นก, กา บินเข้าเกาะบนหุ้นไล่กา 3. Tube dwelling Polychaete หัวโผล่ออกมาจากรู ถ้านอกรูเงียบ ไม่หลบเข้าไปในช่วงหลังๆ ถ้ามีคนเดินมาบ่อยๆ หลบเข้าไปในรู เมื่อมีคนเข้าไปใกล้ๆ หรือเห็นเงา Habituation Chain of reflexes
4. ลูกนกลดการตอบสนองต่อเสียงดังมากๆ /แสงไฟแลบ จากกล้องถ่ายรูป 5. สุนัขลดการตอบสนองต่อเสียงเครื่องบิน 6. คนกินอาหารสุกๆ ดิบๆ 7. คนกระทำผิดกฎหมาย, ค้าของเถื่อน 8. การขับรถฝ่าไฟแดง
ลดการตอบสนองต่อ....... คุ้นเคยต่อ....................... Habituation :- ลดการตอบสนองต่อ....... คุ้นเคยต่อ....................... ฝ่าฝืนกระทำต่อ............... ก้าวร้าวต่อ...................... บุกรุก............................... ลักลอบ...........................
ความสำคัญ 1. Habituation มีความสำคัญต่อการพัฒนาการของพฤติกรรมในสัตว์ที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ เช่น ลูกสัตว์จะแสดงพฤติกรรมการหนี (escaping behavior) ต่อสิ่งเร้าที่มีขนาดใหญ่โตกว่าตัวมันมาก และนิ่งเฉยต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีผลเสียต่อตัวมัน 2. ช่วยให้การดำรงชีพเป็นปกติโดยเพิกเฉยต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีความสำคัญไม่มีผลใดๆ แต่ถ้ามี Habituation ต่อสิ่งเร้าที่มีอันตราย/เกิดผลเสียก็จะเกิดผลร้ายต่อตัวเอง
III. Conditioning, Conditioned reflex, Associative learning) พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดจากสิ่งเร้าอย่างหนึ่งไปกระตุ้นให้สัตว์/คนเกิดการบสนองเป็นแบบเดียวกัน สิ่งเร้าแท้ (สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข = unconditioned stimulus) สิ่งเร้า 2 ชนิด สัตว์ตอบสนองตามธรรมชาติปกติ (innate behavior) สิ่งเร้าไม่แท้ (สิ่งเร้ามีเงื่อนไข = conditioned stimulus) Conditioned reflex