นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การขับเคลื่อนงาน ด้านการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนในปัจจุบัน 1 นำเสนอโดย นายจุมพฏ วรรณฉัตรสิริ ผู้อำนวยการกองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลประกอบการเสวนา.
Advertisements

1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
การบริหารและขับเคลื่อน
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค เป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะปฏิรูป (พ.ศ. 2560-2564) Cluster CD นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค 1 มิ.ย. 2560 ประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อน (ร่าง) กรอบแผนยุทธศาสตร์ 20 ปีด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะปฏิรูป (พ.ศ. 2560 - 2564) สู่การปฏิบัติในพื้นที่ วันที่ 1 - 2 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมริชมอนด์ สไตล์ลิซ คอนเวนชั่น จังหวัดนนทบุรี

ยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค วิสัยทัศน์ประเทศไทย มั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี 1.ด้านความมั่นคง 3.ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4.ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านสาธารณสุข PP Excellent Service Excellent Governance Excellent People Excellent ยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค

ผลการประเมินสมรรถนะด้านการควบคุมโรคตาม JEE กฎหมาย P.1.1 P.1.2 ประสานงาน P.2.1 P.3.4 ป้องกัน P.3.3 P.7.1 P.7.2 เฝ้าระวัง P.3.1 P.3.2 P.4.1 D.2.1 D.2.2 D.2.3 D.2.4 D.3.1 D.3.2 ห้องปฏิบัติการฯ P.6.1 P.6.2 D.1.1 D.1.2 D.1.3 D.1.4 กำลังคน P.4.2 D.4.1 D.4.2 D.4.3 ระบบจัดการ P.4.3 P.5.1 R.1.1 R.1.2 R.2.1 R.2.2 ภาวะฉุกเฉิน R.2.3 R.2.4 R.3.1 R.4.1 R.4.2 R.5.1 ทางสาธารณสุข R.5.2 R.5.3 R.5.4 R.5.5 CE.1 CE.2 RE.1 RE.2 ช่องทางเข้าออก PoE 1 PoE 2

ยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืน ด้านควบคุมโรคของประเทศ 2558-2562 หากจะขยายความในส่วน “การพัฒนานโยบาย มาตรการ และบริการด้านการป้องกันควบคุมโรค” และ “การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” ก็จะได้ตามาภาพ นั้นคือ การดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับความมั่นคงด้านสุขภาพ และความมั่นคงของประเทศ ซึ่งในส่วนนี้ กรมควบคุมโรคได้เคยกำหนดกิจกรรมหลักไว้ ๕ กิจกรรมได้แก่ การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข การสอบสวนควบคุมโรคโดยหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค (Disease Control Unit) การพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center) การจัดการกับประชากรเฉพาะหรือพื้นที่เฉพาะ เช่น พื้นที่ชายแดน หรือ แรงงานข้ามชาติ ความมั่นคงด้านวัคซีน ซึ่งในส่วนนี้ งานนี้ งานระบาดวิทยาจะมีส่วนสำคัญมากในการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข การสอบสวนควบคุมโรคโดยหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค และการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน

นโยบายด้านโรคติดต่อ เร่งรัดการกำจัด และกวาดล้างโรคที่เป็นพันธะสัญญากับนานาชาติ และเป็นโรคที่ประเทศไทยสามารถควบคุมได้ระดับหนึ่งแล้ว 1.1 เร่งรัดการกวาดล้างโรคโปลิโอ 1.2 เร่งรัดการกำจัดโรคโรคมาลาเรีย โรคเรื้อน เอดส์ หัด พิษสุนัขบ้า และโรคเท้าช้าง พัฒนาระบบการป้องกันโรคติดต่ออันตรายอย่างเต็มที่ เพื่อลดโอกาสการระบาดของโรคติดต่ออันตรายในประเทศไทยให้เหลือน้อยที่สุด ควบคุมโรคติดต่อประจำถิ่น (ได้แก่ ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ มือเท้าปาก วัณโรค โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน โรคที่เกิดจากจุลชีพดื้อยา โรคติดต่ออุบัติใหม่ และโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล) ด้วยมาตรการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้โรคติดต่อประจำถิ่นส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของประชาชนให้น้อยที่สุด ลดการตีตราหรือเลือกปฏิบัติต่อผู้ป่วยโรคติดต่อทุกชนิด

ระบบสนับสนุน ประสานงาน บริหารจัดการ และประเมินผล ความเชื่อมโยงระหว่าง นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ และแผนปฏิบัติการโรคติดต่อ Detect นโยบาย ระบบสนับสนุน ประสานงาน บริหารจัดการ และประเมินผล Prevent Respond

นโยบาย - ระบบ - แนวทางปฏิบัติ - แผนปฏิบัติการ ป้องกันโรค ตรวจจับ ควบคุมโรค สนับสนุน/บริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ นำมาตรการป้องกันโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพมาใช้อย่างทั่วถึง พัฒนาระบบการตรวจจับโรคติดต่อให้มีความรวดเร็วและแม่นยำ ดำเนินการควบคุมโรคติดต่ออย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย พัฒนา/ปรับปรุงระบบสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการ แผน ปฏิบัติการ โปรแกรมป้องกันโรค 21 โปรแกรม Public Health Laboratory งานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การเฝ้าระวังโรค การดูแลรักษาผู้ป่วย Emergency Operations Center สื่อสารความเสี่ยง การสนับสนุนและการบริหารจัดการ การติดตามและประเมินผล การพัฒนากำลังคน โปลิโอ โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก

เป้าหมาย 5 ปี (ปี 64) Cluster CD กวาดล้างโปลิโอ = 0 ราย หัด = 0.5 ต่อ ปชก. 1,000,000 โรคคอตีบ ไม่เกิน 0.015 ต่อ ปชก. 100,000 Malaria จำนวน 882 อำเภอ/ เขตไม่มีการแพร่เชื้อมาลาเรีย Vaccine โรคติดต่อนำโดยยุงลาย อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ≥ ร้อยละ 30 อัตราป่วยตายโรคไข้เลือดออก ≤ ร้อยละ 0.07 จำนวนการติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ลดลง ≥ ร้อยละ 50 โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ร้อยละ 30 ของเหตุการณ์การระบาดไม่เกินค่าเป้าหมายของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (ปี 54-58) HFMD อัตราผู้ป่วยเด็กอายุ 0-5 ปี ลดลง ร้อยละ 20 ต่อ ปชก. 100,000 เท้าช้าง อัตราการแพร่ ≤ ร้อยละ1 Rabie ผู้เสียชีวิต = 0 ราย อุบัติการณ์ต่ำกว่า 1 : 10,000 ประชากรในหน่วยพื้นที่ระดับอำเภอ ลิซมาเนีย Leptospirosis ลดอัตราป่วยตายน้อยกว่า ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อัตราการติดเชื้อ ≤ 3.0 (ครั้งต่อ 1,000 วันนอน) โรคติดต่ออุบัติใหม่ New Pathogen: สามารถควบคุมไม่ให้เกิด โรคติดต่ออุบัติใหม่Generation ที่ 2 หนอนพยาธิ ตามโครงการพระราชดำริ อัตราการติดเชื้อลดลง ≤ ร้อยละ 5 โรคไข้หวัดใหญ่ อัตราป่วยลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังอย่างน้อย ร้อยละ 5 โรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี อัตราการติดเชื้อ น้อยกว่าร้อยละ 5 , 27 จังหวัดพื้นที่เสี่ยง

แผนงานระบบงานระบาดวิทยา (พ.ศ. 2560–2564) ระบบควบคุมโรคและภัย ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคและภัย (5 กลุ่ม 5 มิติ) พยากรณ์โรค พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังโรคและภัยได้ ระบบจัดการภาวะฉุกเฉิน พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) พัฒนา Situation Awareness Team ทีมปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (Joint Investigation Team) พรบ.โรคติดต่อ และอื่นๆ ช่องทางเข้าออก สุขภาวะชายแดน ประชากรต่างด้าว ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ แผนงานระบบงานระบาดวิทยา (พ.ศ. 2560–2564) ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน แผนพัฒนากำลังคน

ขอบคุณครับ

แผนงานพัฒนาจังหวัดสุขภาพชายแดน (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมายลดโรคและภัยสุขภาพ เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 ร้อยละของจังหวัดชายแดนมีสมรรถนะการป้องกันควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะการปฏิบัติตามกฏอนามัยระหว่างประเทศ (Joint External Tool, JEE) - ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 มาตรการสำคัญ : พัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับกลุ่มประชากรเฉพาะหรือในพื้นที่เฉพาะ ได้แก่ จังหวัดชายแดน 31 จังหวัด

จังหวัดขายแดนและจังหวัดคู่ขนาน แผนงานโครงการพัฒนาเครือข่ายในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระหว่างจังหวัดชายแดนและ จังหวัดคู่ขนานประเทศเพื่อนบ้าน (Twin Cities) (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมาย จังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมาย มีการพัฒนาความร่วมมือด้านการป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ ร่วมกับจังหวัดชายแดนคู่ขนานประเทศเพื่อนบ้าน (Twin Cities) ตามเกณฑ์ที่กำหนด ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ร้อยละ 60 (14 จังหวัด) ร้อยละ 70 (17 จังหวัด) ร้อยละ 80 (19 จังหวัด) ร้อยละ 90 (22 จังหวัด) ร้อยละ 100 (24 จังหวัด) มาตรการที่สำคัญ : การพัฒนาภาคีเครือข่ายระหว่างประเทศ เพื่อการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพระหว่าง จังหวัดชายแดนและจังหวัดคู่ขนานประเทศเพื่อนบ้านตามกรอบความร่วมมือ/ข้อตกลง สคร. จังหวัดขายแดนและจังหวัดคู่ขนาน สคร.1 จังหวัดเชียงใหม่ 1. เชียงรายกับแขวงบ่อแก้ว 2. น่านกับแขวงไชยบุรี สคร.2 จังหวัดพิษณุโลก 3. ตากกับเมียวดี 4. อุตรดิตถ์กับแขวงไชยบุรี สคร.5 จังหวัดราชบุรี 5. กาญจนบุรีกับรัฐทวาย 6. ประจวบคีรีขันธ์กับมะริด สคร.6 จังหวัดชลบุรี 7. จันทบุรีกับพระตะบองและเมืองไพลิน 8. ตราดกับเกาะกง 9. สระแก้วกับบันเตียมินเจย พื้นที่เป้าหมาย

แผนพัฒนาสมรรถนะช่องทาง เข้าออกประเทศ (พ.ศ.2560-2564) แผนพัฒนาสมรรถนะช่องทาง เข้าออกประเทศ (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมายปี 2560-2564 : ช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (CCAT) ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน 2560 2561 2562 2563 2564 ร้อยละของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (แห่ง) ร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์ ขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 93 ร้อยละ 96 ร้อยละ 99 ร้อยละ 100 - ร้อยละ 15 ผ่านเกณฑ์ระดับ ปานกลาง ร้อยละ 25 ร้อยละ 35 ร้อยละ 45 มาตรการที่สำคัญ ด่านควบคุมโรคฯ 68 แห่ง สังกัดกรม คร. 61 ด่าน สังกัด สป. 7 ด่าน พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทาง เข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ

แผนงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย (พ.ศ.2560-2564) Goal 5 ปี อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ≥ 30% ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ≤ 0.07% จำนวนการติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ลดลง ≥ 50% จากปีก่อนหน้า KPI อำเภอเสี่ยงต่อการระบาด มีการใช้ผลพยากรณ์โรค จังหวัดที่พบผู้ป่วย Zika มีการเฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ อำเภอเมือง มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินมาตรฐาน หน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับใช้ CGP Target สถานที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอายุระหว่าง 10-24 ปี (วัยเรียน, วัยรุ่น/วัยหนุ่มสาว) และ หญิงตั้งครรภ์ พื้นที่เป้าหมาย เขตเมือง 6ร : โรงเรือน โรงพยาบาล โรงเรียน โรงธรรม โรงแรม โรงงาน อำเภอเสี่ยง = 206 อำเภอ Activities ก่อน ระบาด มาตรการสำคัญ เพิ่มความเข้มแข็งระบบเฝ้าระวังโรค เร่งรัดการป้องกันและควบคุม การแพร่เชื้อโรค เพิ่มความเข้มแข็งระบบการดูแลรักษาผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค (ไข้เลือดออก/ ซิกา) ประเมินพื้นที่เสี่ยงตามรายงานพยากรณ์โรค จัดทำแผนปฏิบัติการในอำเภอเสี่ยงด้วย หลักการ IVM ร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ ขับเคลื่อนแผนฯ ผ่าน คณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด เตรียมความพร้อมระบบการรักษาและส่งต่อ รายงานสถานการณ์โรค ประเมินสถานการณ์โรค (ไข้เลือดออก/ ซิกา) สอบสวน และควบคุมโรค สนับสนุนการใช้มาตรการทางสังคม บริหารจัดการทรัพยากรในการควบคุมการระบาดผ่าน EOC สื่อสารความเสี่ยงให้แก่ประชาชน จัดระบบแพทย์ที่ปรึกษา สนับสนุนการตั้ง Dengue Corner ในสถานพยาบาล สรุปสถานการณ์โรค สรุปบทเรียนการป้องกันควบคุมโรค สร้าง/ ค้นหา ต้นแบบอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง สรุปบทเรียนการดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วง หลัง การติดตาม ประเมินผล (M&E) และ การวิจัย นวัตกรรม (Innovation & Research)

แผนงานโรคพิษสุนัขบ้า (พ.ศ.2560-2564) ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศ.ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 6 5 14 3 มาตรการ/ตัวชี้วัด เป้าหมายตัวชี้วัดมาตรการ ปี 2560 2561 ระดับประเทศ ระดับเขต มาตรการที่ 1 ลดความเสี่ยงจากการเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละของผู้สัมผัสสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อพิษสุนัข บ้าได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัติ ร้อยละ 100 มาตรการที่ 2 ขับเคลื่อนการจัดทำแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่เสี่ยง ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ในจังหวัดเสี่ยง มีแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ตัวชี้วัดที่ 2.2 อำเภอเสี่ยงมีแผนป้องกันควบคุม โรคพิษสุนัขบ้า ตามมาตรการเชิงรุกที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ร้อยละ95 พื้นที่เสี่ยง : จังหวัดเชียงราย (สคร.1) / ตาก (สคร.2) / กาญจนบุรี สมุทรสาคร (สคร.5) / จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ สระแก้ว (สคร.6) / กาฬสินธุ์ มหาสารคาม (สคร.7) / นครพนม เลย หนองคาย (สคร.8) / สุรินทร์ (สคร.9) / มุกดาหาร ศรีษะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี (สคร.10) / ตรัง นราธิวาส สงขลา (สคร.12) และกรุงเทพมหานคร (สปคม.)

ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรค พื้นที่เป้าหมาย 55 จังหวัด 844 โรงเรียน แผนงานควบคุมโรคหนอนพยาธิ (พ.ศ.2560-2564) ภายใต้โครงการพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรค และภัยสุขภาพ ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในนักเรียนตามแผน กพด. ร้อยละ 10.10 6.70 9.43 < ร้อยละ 8 < ร้อยละ 7 < ร้อยละ 6 < ร้อยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 2 ลดอัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในประชาชนพื้นที่ภูฟ้าพัฒนาจังหวัดน่าน 18.45 33.90 14.63 < ร้อยละ 12 < ร้อยละ 10 มาตรการที่สำคัญ : มาตรการที่ 1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข/ครู หลักสูตรพนักงานจุลทัศนกรด้วยเทคนิค Modify Kat’s thick smear มาตรการที่ 2 การดำเนินการตรวจค้นหาโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและประชาชนและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มาตรการที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน พื้นที่เป้าหมาย 55 จังหวัด 844 โรงเรียน ภาคอีสาน 16 จ.ภาคเหนือ 9 จ.ภาคตะวันออก 4 จ.ภาคกลาง 7 จ.ภาคใต้ 14 จ.ภาคตะวันตก 5 จ.และโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 รร.

การลดโรคและภัยสุขภาพ แผนงานพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (พ.ศ.2560-2564) ภายใต้โครงการรณรงค์กำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีเพื่อรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชพร้อมทั้งถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา ตัวชี้วัดเป้าหมาย การลดโรคและภัยสุขภาพ ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ลดอัตราการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในพื้นที่เสี่ยง 27 จังหวัด ร้อยละ 5.1 (ทั้งประเทศ) - ร้อยละ 9.1 (27 จังหวัด) ลดลง ร้อยละ 5 (ของพื้นที่ดำเนินการ) มาตรการที่สำคัญ : มาตรการที่ 1 การสร้างเสริมสุขภาพ (กรมอนามัย, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, กระทรวงศึกษาธิการ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น) มาตรการที่ 2 การควบคุมป้องกันคัดกรองพยาธิใบไม้ตับ (กรมควบคุมโรค) มาตรการที่ 3 การคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดี (กรมการแพทย์) มาตรการที่ 4 การผ่าตัด ประคับประคอง และ Palliative (กรมการแพทย์,กรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยฯ) มาตรการที่ 5 การสื่อสารสาธารณะ (กรมควบคุมโรค) พื้นที่ เป้าหมาย 27 จว (ภาคอีสาน 20 จ. / ภาคเหนือ 6 จ. / ภาคตะวันออก 1 จ.)

แผนงานควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ (พ.ศ.2560-2564) New Pathogen: ไม่ให้เกิดโรค Generation ที่ 2 มาตรการสำคัญ กิจกรรมสำคัญ กลุ่ม เป้าหมาย ติดตามประเมินผล Outcome พัฒนา การจัดการความรู้โรคติดต่ออุบัติใหม่ สร้างความเข้มแข็ง ในการเตรียม ความพร้อมและบริหารจัดการ ประชุมวิชาการ EIDs ทำแผนที่วิจัย ประชุมเครือข่ายวิจัย คิดค้น/ต่อยอดงานวิจัยสู่การผลิต สนับสนุนความร่วมมือการทำวิจัย บุคลากรด้านสาธารณสุข เครือข่ายมีความความรู้ EIDs สามารถเตรียมความพร้อมตอบโต้EIDs ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปีละ 1 ครั้ง พัฒนาและประเมินระบบเตรียมความพร้อมรองรับ EIDs/ระบบเฝ้าระวัง แจ้งเตือน BCP ประสานจัดเตรียมสถานที่ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย Lab พัฒนาเว็บไซต์ เผยแพร่ความรู้ EIDs ผ่านช่องทางต่างๆ มีระบบฐานข้อมูลร่วม EIDs หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: สวทช. สคร. สสจ. สอม. ปศ. อุทยานฯ ฯลฯ มีความพร้อมในการรองรับการระบาดของ EIDs ไม่เกิดการระบาดของ EIDs ในคนเป็นวงกว้าง ปีละ 1 ครั้ง Impact ประเทศไทยสามารถลดการป่วย การตาย และลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่

แผนงานควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ (พ.ศ.2560-2564) ปี 60 อัตราป่วยไม่เกิน ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ปี 61 – 64 อัตราป่วยลดลงจาก ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังอย่างน้อยร้อยละ 5 มาตรการสำคัญ กิจกรรมสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล Outcome ให้วัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในคน ส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันตนเอง รณรงค์ผ่านสื่อ กำกับหน่วยงานรับผิดชอบ ปชช.กลุ่มเสี่ยง, จนท.การแพทย์ สคร. สปคม. สสจ. รพศ. รพท. รพช. รพสต. ปชช. กลุ่มเป้าหมาย มีภูมิคุ้มกัน โรคไข้หวัดใหญ่ ปีละ 1 ครั้ง พัฒนาเทคโนโลยี/ นวัตกรรมในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ถ่ายทอดความรู้ พยากรณ์โรค ประเมินความเสี่ยง แจ้งเตือนเครือข่าย สำรอง กระจายยา กำกับหน่วยงานรับผิดชอบ สถานศึกษา เรือนจำ ค่ายทหาร ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถป้องกันตนเองจาก โรคไข้หวัดใหญ่ ปีละ 1 ครั้ง ปชช. สามารถป้องกันตนเองจาก โรคไข้หวัดใหญ่ เพิ่ม “วิจัยและองค์ความรู้” “system design” ลดการตายในกลุ่มเสี่ยง สถานศึกษา เรือนจำ ค่ายทหาร 2 ปี ครั้ง (ปี 62, 64) Risk com. ทำสื่อประชาสัมพันธ์ Impact ประเทศไทยสามารถลดการป่วย และตายในกลุ่มเป้าหมาย และ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่

แผนงานป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมายการลดโรค : จำนวนรูปแบบ นโยบาย มาตรการแนวทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเขตเมือง 13 (เรื่อง) มาตรการ 1 : พัฒนาความร่วมมือเครือข่าย ก.1 : พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายเขตเมือง มาตรการ 2 : พัฒนารูปแบบ/นโยบาย/แนวทาง/มาตรการ ก.1 : รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองในกลุ่มผู้พักอาศัยชุมชนแนวสูง ก.2 : รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค DHF/Zika ในเขตเมือง ก.3 : RTI มาตรการ 3 : สร้างและพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ ก.1 : สร้างระบบการมีส่วนร่วมกับ Non-Health sector ก.2 : การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาระบบข้อมูล คนเมืองสุขภาพดีพหุภาคีมีส่วนร่วมระบบป้องกันควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ

แผนงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (พ.ศ. 2560 – 2564) เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ มาตรการที่สำคัญ : มาตรการที่ 1 ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ มาตรการที่ 2 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล และศูนย์ข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล มาตรการที่ 3 การพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ

แผนงานกำจัดโรคมาลาเรีย (พ. ศ แผนงานกำจัดโรคมาลาเรีย (พ.ศ. 2560 – 2564) ตามยุทธศาสตร์กำจัดโรคไข้มาลาเรียฯ Goal ประเทศไทย ปลอดจากการแพร่เชื้อมาลาเรีย ภายในปี 2567 ผู้ป่วยได้รับการสอบประวัติภายใน 3 วัน ผู้ป่วยมาลาเรียได้รับยารักษา ตามนโยบายยารักษาแห่งชาติ หลังคาเรือนในหมู่บ้านพื้นที่แพร่เชื้อมีมุ้งชุบสารเคมี และ/หรือมีการพ่นเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้าง KPIs ทุกอำเภอ/เขต 928 อำเภอ หมู่บ้านแพร่เชื้อ (A1,A2) 2,741 หมู่บ้าน Targets เพิ่มความครอบคลุมการเฝ้าระวังโรค การตรวจวินิจฉัยรักษาเชิงรับ-เชิงรุก และการกำจัดเชื้อมาลาเรียดื้อยา ควบคุมยุงพาหะ และ เพิ่มความครอบคลุมการป้องกันตนเอง Interventions ดำเนินมาตรการแจ้งเตือน-สอบสวน-ตอบโต้ (1-3-7) จัดแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงาน พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการตรวจรักษาและจัดการรักษาผู้ป่วย ติดตามการรักษาเพื่อเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาเฝ้าระวังป้องกันควบคุมและกำจัดโรคไข้มาลาเรียฯ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพฯ นิเทศ ติดตามร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย ส่งเสริมการใช้มุ้งชุบสารเคมีในพื้นที่แพร่เชื้อ พ่นสารเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้างในพื้นที่ที่เกิดการระบาด เฝ้าระวังด้านกีฏวิทยา Activities

แผนงานโรคเลปโตสไปโรซิส (พ.ศ. 2560 – 2564) ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรค และภัยสุขภาพ ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอัตราป่วยตายด้วยโรคเลปโตสไปโรสิส ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง 0.87 2.37 1.57 1.45 N/A มาตรการสำคัญ : รู้เร็ว วินิจฉัยเร็ว รักษาและป้องกันควบคุมโรคได้ถูกต้อง (4E2C) พื้นที่เสี่ยง : จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด 12 อันดับแรกของประเทศ (ปี 2555-2559) ได้แก่ ระนอง ศรีสะเกษ พังงา สุรินทร์ เลย กาฬสินธุ์ นครศรีธรรมราช พัทลุง ยโสธร บุรีรัมย์ มหาสารคาม และยะลา (สคร.7, 8, 9, 10, 11, 12) อำเภอเสี่ยง : ระนอง (กระบุรี) ศรีสะเกษ (ขุขันธ์ ขุนหาญ ภูสิงห์) พังงา สุรินทร์ (เมืองสุรินทร์ รัตนบุรี ศีขรภูมิ บัวเชด) เลย กาฬสินธุ์ (กมลาไสย) นครศรีธรรมราช (เมืองนครศรีฯ เชียรใหญ่) พัทลุง ยโสธร บุรีรัมย์ (ละหานทราย) มหาสารคาม (วาปีปทุม) ยะลา

แผนงานควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (พ.ศ. 2560 – 2564) เป้าหมายลดโรค ไม่พบผู้ป่วยโปลิโอภายในประเทศ โรคโปลิโอ กำจัดโรคหัดผู้ป่วยยืนยันไม่เกิน 1 ต่อล้านคนภายในปี 2563 โรคหัด ลดอัตราป่วยโรค EPI อื่น ๆ (เช่น คอตีบไม่เกิน 10 ราย) โรค EPI อื่นๆ มาตรการที่สำคัญ : มาตรการที่ 1 การเร่งรัดและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน มาตรการที่ 2 กำจัดและกวาดล้างโรคตามพันธะสัญญานานาชาติ

แผนงานการควบคุมโรคอาหารเป็นพิษ (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนงานการควบคุมโรคอาหารเป็นพิษ (พ.ศ. 2560 – 2564) เป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 ร้อยละของเหตุการณ์การระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี - ร้อยละ 5 10 20 25 30 มาตรการที่สำคัญ : มาตรการที่ 1 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายการป้องกันควบคุม โรคอาหารเป็นพิษ มาตรการที่ 2 มาตรฐานการควบคุมโรคอาหารเป็นพิษ สคร. จังหวัดเสี่ยง ปี 60 1 เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน ลำปาง 2 พิษณุโลก เพชรบูรณ์ 3 พิจิตร อุทัยธานี นครสวรรค์ 4 นครนายก พระนครศรีอยุธยาสระบุรี อ่างทอง 5 ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม 6 จันทบุรี ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 8 นครพนม หนองบัวลำภู หนองคาย อุดรธานี 9 บุรีรัมย์ สุรินทร์ 10 มุกดาหาร ศรีษะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี 11 ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี 12 ตรัง โรงเรียน : ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ในโรงเรียน (ปี 2554-2558) เท่ากับ 23 ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปีในโรงเรียน (ปี 2555-2559) เท่ากับ 38 ชุมชน : ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (ปี 2554-2558) เท่ากับ 74 ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (ปี 2555-2559) เท่ากับ 73 หมายเหตุ: การเลือกเป้าหมายโรงเรียนหรือชุมชนขึ้นกับสคร.ที่จะ setting กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มวัยเรียน / ปฐมศึกษา พื้นที่เป้าหมาย : สคร.1-12 และสปคม. (ดำเนินการในจังหวัดพื้นที่เสี่ยง)

แผนงานป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปาก (พ.ศ. 2560 – 2564) ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ 55 56 57 58 59 60 61 อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กอายุ 0-5 ปี ลดลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (ต่อแสนประชากร) 70 71 102 63 122 ลดลง ร้อยละ 20 มาตรการที่สำคัญ : มาตรการที่ 1 เร่งรัดการพัฒนามาตรฐานการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล มาตรการที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพการป้องกันควบคุมโรคในชุมชน พื้นที่ : ดำเนินการทั่วประเทศ 77 จังหวัด กลุ่มเป้าหมาย : 1) เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่อยู่กับพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็ก 2) เด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล

แผนงานโรคเท้าช้าง (พ.ศ.2560-2564) Goal อัตราการแพร่โรคพยาธิเท้าช้างไม่เกินร้อยละ 1 อัตราการพบแอนติเจน/ ไมโครฟิลาเรีย น้อยกว่า 1 % อัตราการแพร่เชื้อในยุงพาหะของโรคเท้าช้าง ไม่เกิน 1% ไม่มีการแพร่เชื้อในยุงพาหะโรคเท้าช้างสายพันธุ์พม่า อัตราการพบ ไมโครฟิลาเรียในแมวรังโรค น้อยกว่า 1% ความครอบคลุมการ จ่ายยาในกลุ่มคนต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรค มากกว่า 80% ความครอบคลุมของการติดตามผู้ปรากฏอาการเท้าช้าง KPI พื้นที่เป้าหมาย -กลุ่มบ้านแพร่โรค 10 จังหวัด (แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และ กระบี่) -จังหวัดที่มีการขึ้นทะเบียนแรงงานสูง 10 จังหวัด (กทม. สมุทรสาคร ตาก เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต สมุทรปราการ ระนอง นครปฐม และ ชลบุรี) -พื้นที่แพร่โรคเดิม (นราธิวาส) Target Intervention/ Activities มาตรการสำคัญ เฝ้าระวังโรค ลดอัตราการพบโรคเท้าช้างในกลุ่มต่างด้าวที่มาจากประเทศแพร่โรค ลดความทุกข์ทรมานของผู้ปรากฎอาการโรคเท้าช้าง สุ่มเจาะโลหิตหาแอนติเจนโรคเท้าช้าง/ ไมโครฟิลาเรีย จับยุงพาหะโรคเท้าช้างผ่าหาพยาธิ จับยุงพาหะโรคเท้าช้างสายพันธุ์พม่าผ่าหาพยาธิ เจาะโลหิตในแมวรังโรค ตรวจหาพยาธิ ตรวจสอบฐานข้อมูลประชากร (พม่า) ที่ขึ้นทะเบียน และ ผู้ติดตาม จ่ายยาในกลุ่มประชากรต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียน และ ผู้ติดตาม ดูแลรักษาผู้ปรากฏอาการโรคเท้าช้าง การติดตาม ประเมินผล (M&E)

แผนงานโรคลิชมาเนีย (พ.ศ.2560-2564) Goal อุบัติการณ์ต่ำกว่า 1 : 10,000 ประชากรในหน่วยพื้นที่ระดับอำเภอ ความครอบคลุมของพื้นที่การเฝ้าระวังผู้ป่วย และพาหะนำโรค KPI พื้นที่เป้าหมาย เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี พังงา น่าน ตรัง Target Intervention/ Activities มาตรการสำคัญ เฝ้าระวังพาหะนำโรค จับริ้นฝอยทราย จำแนกชนิด และ ส่งตรวจหาเชื้อลิชมาเนีย การติดตาม ประเมินผล (M&E)