ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
Advertisements

การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 20 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
กฎหมายการศึกษาไทย.
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ณ วันนี้เป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือยัง
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย... โกมินทร์ อินรัสพงศ์
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ”
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
PLC.
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community : PLC อาคม สมพามา 27 พ.ค.60

พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งขันกับตัวเอง ให้เด็กที่เรียนเร็วกว่าสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า ให้ครู จัดกิจกรรมให้เด็กทำร่วมกันเป็นหมู่คณะ เพื่อให้เกิดความสามัคคี

ประโยชน์ของการเสริมสร้าง PLC ผลดีต่อครู ลดความรู้สึกโดดเดี่ยว เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายต่องาน กระตือรือร้น มีพลังที่จะพัฒนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการค้นพบความรู้ วิธีทำงาน วิธีสอนใหม่ๆ ต่อยอดวิธีการของตนเองจากประสบการณ์ของเพื่อน

ประโยชน์ของการเสริมสร้าง PLC ผลดีต่อผู้เรียน ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง คุณภาพผู้เรียนดีขึ้น ทั้งด้านความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ

ประโยชน์ของการเสริมสร้าง PLC ผลดีต่อโรงเรียน งานบรรลุตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ เกิดการเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร เกิดพลังรัก สามัคคีและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง ครูและผู้บริหาร ได้พัฒนาวิชาชีพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น

เทคนิคหรือเคล็ดลับที่จำเป็นในการเสริมสร้างกระบวนการ PLC ทักษะการฟัง เรื่องเล่าเร้าพลัง การวิเคราะห์ปัญหา AAR ICT

AAR. (After Action Review) ทบทวนการปฏิบัติงาน ทำได้ดี : สิ่งที่ทำได้ดีและควรรักษาไว้ให้มีต่อไป ถึงเป้าหมาย : เราไปถึงเป้าหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ ปัญหา อุปสรรค : อะไรเป็นปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน

: แนวทางการนำไปปรับปรุงในครั้งต่อไป เรียนรู้ : เราได้เรียนรู้อะไรจากการทำกิจกรรมนั้น ปรับปรุง : แนวทางการนำไปปรับปรุงในครั้งต่อไป ข้อควรระวัง : ข้อควรระวังที่ควรให้ความสำคัญ

องค์ประกอบของ PLC มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน เรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ ร่วมแรง ร่วมใจร่วมมือ มีภาวะ ผู้นำร่วม กัลยาณมิตร ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร เรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ

ขั้นตอนการสร้าง PLC ในสถานศึกษา 1. วิเคราะห์ภารกิจนโยบาย จุดเด่นจุดด้อย 2. เลือกงาน/ภารกิจ ที่ต้องพัฒนาร่วมกัน 3. วางแผน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ขั้นตอนการสร้าง PLC ในสถานศึกษา (ต่อ) 4. ทุกคนพัฒนางาน / ภารกิจในชั้น /วิชาที่รับผิดชอบ 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ การสอน 6. เก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการแลกเปลี่ยน มาพัฒนาตนเอง

ขั้นตอนการสร้าง PLC ในสถานศึกษา (ต่อ) 7. แลกเปลี่ยนและประเมินผลรวมสรุปเป็นองค์ความรู้ วิธีปฏิบัติที่ดีของเรื่องนั้นๆ 8. เผยแพร่องค์ความรู้ /Network Development 9.Share & Show

ตัวอย่างงาน/ภารกิจ Active Learning (STEM Education) ไทยแลนด์ 4.0 โรงเรียนคุณธรรม การสอนคณิตศาสตร์

บทบาทของผู้บริหารโรงเรียน กับ PLC ในสถานศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนคิด เป็นพี่เลี้ยงหรือโค้ชครูในการพัฒนางาน (นิเทศภายใน) ประสานผู้เชี่ยวชาญภายนอกเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ ให้แรงเสริมอย่างสม่ำเสมอ เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะทุกโอกาส ฯลฯ

วิธีการดำเนินงาน PLC การบริหารจัดการ ภาระงาน : จัดชั่วโมงรวมอยู่ในภาระ งานสอนของครู การจัดกลุ่ม

วิธีการดำเนินงาน PLC ต่อ กลุ่มครูที่สอนวิชากลุ่มสาระเดียวกันในระดับชั้นเดียวกัน กลุ่มครูที่สอนวิชากลุ่มสาระเดียวกันในช่วงชั้นเดียวกัน บุคลากรแบ่งกลุ่มตามลักษณะงาน

วิธีการดำเนินงาน PLC ต่อ จำนวนสมาชิก 6 ถึง 8 คน ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ หมุนเวียนเข้าร่วมทุกกลุ่ม ระยะเวลา 2 ถึง 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

บทบาทสมาชิกในกลุ่ม ควบคุมประเด็น การพูดคุย ผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) ควบคุมประเด็น การพูดคุย รักษาระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิก

ผู้ร่วมพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทบาทสมาชิกในกลุ่ม ผู้ร่วมพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้หาข้อมูลเพิ่มเติม ผู้บันทึก logbook ทุกคน

ปัญหา วิธีดำเนินการ ผลลัพธ์ ตัวอย่าง logbook 1 ปัญหา วิธีดำเนินการ ผลลัพธ์

ใครลงมือ ทำอะไร ทำอย่างไรเมื่อไร ผลที่เกิด ตัวอย่าง logbook 2 ใครลงมือ ทำอะไร ทำอย่างไรเมื่อไร ผลที่เกิด

วิธีดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.เสนอประเด็นปัญหา 2.ร่วมกันคัดเลือกประเด็นปัญหา 3.ระดมสมองเสนอวิธีแก้ปัญหา 4.หาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม 5.อภิปรายสรุปเลือกวิธีแก้ปัญหา 6.นำไปทดลองใช้

วิธีดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ต่อ) 7.สมาชิกร่วมกัน เก็บข้อมูล 8.ปรับปรุงแก้ไข 9.สรุปผลวิธีการแก้ปัญหา 10.บันทึก 11.แบ่งปันประสบการณ์

ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ปัจจัยความสำเร็จของ PLC : ๙ แนว พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ภูมิสังคม ระเบิดจากข้างใน การมี ส่วนร่วม ประโยชน์ส่วนรวม องค์รวม ทำตาม ลำดับขั้น ไม่ติดตำรา พึ่งตนเอง ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

นานาทัศนะ “PLC เป็นกระบวนการพัฒนาครูที่ทำได้ทันที ไม่ต้องรอใครสั่งการ ลงทุนน้อย ไม่ต้องทิ้งเด็กๆ ตาดำๆ ไปอบรมทีละหลายๆ วัน เพราะ PLC ใช้ห้องเรียนเป็นหน้างาน ทำแล้วพัฒนาและแก้ปัญหาเด็กได้ตรงประเด็น ใช้ปัญหาของเด็ก เป็นตัวตั้งในการทำงานของครู PLC เป็นการรวมตัวกันของครู ร่วมกันทำแผนการสอน ร่วมกันสังเกต การสอน และร่วมกันวิพากษ์ ทำซ้ำจนเกิดนวัตกรรมการเรียนรู้ เมื่อมีนวัตกรรมเกิดขึ้นจึงเชื่อได้ว่า เด็กๆ ได้รับการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนก็ดำเนินการต่อเนื่องจนเกิดเป็นวัฒนธรรมขององค์กร”

“เมื่อผู้บริหารการศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าใจเรื่อง PLC นี้ อย่างชัดเจน PLC ก็จะกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครู และบุคลากรทุกฝ่ายอย่างยั่งยืนแต่ต้องเข้าใจว่า PLC ไม่ใช่หัวข้อการอบรม แต่เป็น กระบวนการ ครูสามารถนำกระบวนการ PLC นี้มาใช้เพื่อศึกษาเรื่องที่ตนเองสนใจ หรือเพื่อศึกษาหาทางแก้ปัญหาการจัดการเรียน การสอนที่ตนพบ หรือเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบทของตน ได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน คือ ใช้กระบวนการ PLC แต่ปรับเปลี่ยนหัวข้อ หรือปัญหาที่ต้องการศึกษาได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน แต่ละพื้นที่” รศ.นราพร จันทร์โอชา

PLC คือ กระบวนการที่สร้าง วัฒนธรรมการทำงานแบบมีส่วนร่วม และเอื้ออาทรต่อกัน

แต่ละกลุ่มเลือกประธานและเลขาฯ เลือกประเด็นปัญหา กลุ่มละ 1 เรื่อง ใบงาน แต่ละกลุ่มเลือกประธานและเลขาฯ ให้แต่ละคนเสนอปัญหา เลือกประเด็นปัญหา กลุ่มละ 1 เรื่อง เขียนในแบบLogbookและ แผ่นชาร์ด เสนอแนวทาง การแก้ปัญหานั้น เสนอแนวทางการขับเคลื่อนPLC .ในร.ร.

สวัสดีครับ