ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
Product Champion มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (ฉบับบูรณาการ) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สำหรับ อปท.
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559
จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS ผลการดำเนินงาน จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS (สะสม) แยกรายเขตสุขภาพ ข้อมูล ณ วันที่ 26 ส.ค.2559
“ท้องถิ่นเข้มแข็ง เข้าใจวัยรุ่น” การขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดย อปท. 1 ถอดบทเรียน ใน 7 พื้นที่ -พะเยา -ลำปาง -กาฬสินธุ์ -มหาสารคาม -กระบี่ สุราษฎร์ธานี -อุดรธานี ประชาสัมพันธ์ ให้ อปท.ที่สนใจสมัคร เข้าร่วมโครงการ สมัครเข้าร่วม 717 แห่ง จาก 39 จังหวัด 3 5 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแนวทางการดำเนินงาน สำหรับราชการส่วนท้องถิ่น ตามที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ มาตรา 10 (30มิ.ย.-1 ก.ค.) ปี 57 ปี 58 ไตรมาส1 ไตรมาส 2 ไตรมาส3 ไตรมาส4 6 2 จัดทำคู่มือ แนวทางการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น “ท้องถิ่นเข้มแข็ง เข้าใจวัยรุ่น” 4 ส่งคู่มือ / คำชี้แจงกระบวนการดำเนินงาน/แบบสอบถาม ความต้องการจำเป็น (Need assessment) การอบรม วิเคราะห์แบบสอบถามความต้องการการอบรม จำนวน..... และเตรียมหลักสูตรการอบรม (ส.ค.-ก.ย.59)
แผนการดำเนินงานปี 2560
โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตร และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมและพัฒนาภาคีเครือข่าย อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน ไตรมาสที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการความรู้สู่การถอดบทเรียนโรงพยาบาลที่มีการจัดบริการสุขภาพ ที่เป็นตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ” ไตรมาสที่ 2 ประชุมเตรียมการและจัดทำหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพทีมผู้ประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ระดับจังหวัด พัฒนาศักยภาพทีมผู้ประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ระดับจังหวัด ( 4 ภาค ) ไตรมาสที่ 2-3 เยี่ยมประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์โดยศูนย์อนามัย/สคร/ศูนย์สุขภาพจิต (เป้าหมายร้อยละ 100) เยี่ยมเสริมพลังโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์โดยผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด (รพ.ที่ประเมินครบ 3 ปี) 4 สรุปผลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
กรอบการทำงานส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนงานอปท. ปี 2560 3 1 เตรียมแผนการอบรม/วิทยากร/สถานที่/วันเวลา/งบประมาณ/ความรับผิดชอบของภาคี 6 10 11 ประชุมทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแผนการดำเนินงานร่วมกัน อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรทีมท้องถิ่นตามความต้องการจำเป็น จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่เน้นพท.ที่พร้อมก่อน อย่างน้อยภาคละ 2 แห่ง รวม 8 แห่ง จัดประชุม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระดับชาติ 7 พัฒนาทีมพี่เลี้ยง ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 2 4 8 แจ้งผลการหารือและแนวทางปฏิบัติสำรับอปท.ไปยังสสจ. ศูนย์อนามัย ท้องถิ่นจังหวัด ให้รับทราบเพื่อกระจายอปท.ทั่วประเทศ 12 พัฒนาหัวข้อวิจัย ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ แบบเสริมพลัง /ช่วยเสริมวิชาการ โดยทีมพี่เลี้ยง สรุปผลการดำเนินงานและปรับแผนปี 61 5 รับสมัครผู้สนใจเข้ารับการอบรมทางเว็บไซต์ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 9 พัฒนาช่องการสื่อสารระหว่างภาคีเครือข่าย
ขอบคุณ