ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ โดย...นางสาวนฤมล ฉัตรสง่า หัวหน้างานผลิตภัณฑ์ กลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด สำนักอาหาร วันที่ 27 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมอีสติน มักกะสัน กรุงเทพมหานคร ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ ของสำนักอาหาร
หลักการและเหตุผลของ พรบ. เป้าหมาย กฎหมายกลางเพื่อกำหนดมาตรฐานและครอบคลุมทุกงานบริการ ผลผลิตหลัก คู่มือสำหรับประชาชน การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในการรับคำขอ ศูนย์รับคำขออนุญาต ประโยชน์ ประชาชนเข้าถึงการให้บริการภาครัฐได้ง่ายขึ้น การให้บริการภาครัฐมีมาตรฐาน ชัดเจน รวดเร็ว ลดความเสี่ยงของการทุจริตคอร์รับชั่น
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ คู่มือสำหรับประชาชน (มาตรา 7) ช่องทางบริการ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ขั้นตอน และระยะเวลา เอกสารหลักฐานประกอบ ค่าธรรมเนียม ช่องทางการร้องเรียน ปิดประกาศ ณ จุดบริการ & เผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซด์สำนักอาหาร)
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ 2. การยื่นคำขอรับบริการ ยื่น ณ จุดให้บริการแต่ละหน่วยงาน ศูนย์บริการร่วมกระทรวง/จังหวัด ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์รับคำขอ (มาตรา14-16)
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ 3. การตรวจสอบคำขอ (มาตรา 8) ออกใบรับคำขอ แจ้งแก้ไขทันที หากแก้ไขไม่ได้ทันที จะบันทึกข้อบกพร่องไว้เป็นหลักฐาน + กำหนดระยะเวลาการแก้ไข ขอเอกสารเพิ่มครั้งเดียวเท่านั้น “ไม่สามารถเพิ่มเติม เอกสารได้”
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ 4. การแก้ไขคำขอ/เอกสาร (มาตรา 9) แก้ไขตามบันทึกข้อบกพร่อง ภายในระยะเวลาที่กำหนด เจ้าหน้าที่จะส่งคืนคำขอกรณี.... แก้ไขไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ไม่มาแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด ผู้ยื่นคำขอมีสิทธิอุทธรณ์ได้
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ 5. การพิจารณาอนุญาต/ไม่อนุญาต (มาตรา 10) แจ้งผลการพิจารณาภายใน 7 วัน กรณีล่าช้ากว่ากำหนด จะแจ้งเหตุแห่งความล่าช้าทุก 7 วัน จนกว่าจะพิจารณาเสร็จ
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ 6. การจัดตั้งศูนย์รับคำขออนุญาต (ม.14-16) ในกรณีจำเป็นและสมควรเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ให้คณะรัฐมนตรีมีมติจัดตั้ง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ระยะเวลาเริ่มมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 21 กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป สำนักอาหาร เริ่มทดลองใช้ 1 มิ.ย.58
โปรดติดตามหัวข้อถัดไป….
แนวทางการปรับเปลี่ยนวิธีการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร โดย...นางสาวนฤมล ฉัตรสง่า หัวหน้างานผลิตภัณฑ์ กลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด สำนักอาหาร วันที่ 27 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมอีสติน มักกะสัน กรุงเทพมหานคร แนวทางการปรับเปลี่ยนวิธีการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร
สถานการณ์การใช้บริการ ยื่นคำขออนุญาตด้านอาหารจนถึงปัจจุบัน การให้บริการแออัด ผู้ประกอบการไม่ สะดวก/ล่าช้า/ไม่ ประทับใจ มาตรฐานการให้บริการ ไม่เท่าเทียมกัน ที่มา: ข้อมูลจากศูนย์ OSSC Note: ผู้มาติดต่อขอรับบริการสูงเป็นอันดับที่ 1
สร้างเครื่องมือให้ผู้ยื่นคำขอ แนวทาง การปรับปรุง บริการนัดหมาย ล่วงหน้า คู่มือสำหรับ ประชาชน สร้างเครื่องมือให้ผู้ยื่นคำขอ ตรวจสอบตนเอง อ่านง่าย ปฏิบัติได้ถูกต้อง
การปรับปรุงวิธีการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร จัดทำคู่มือสำหรับประชาชนเผยแพร่
คู่มือสำหรับประชาชน ดาว์นโหลดได้จากเว็บไซด์ สำนักอาหาร (http://iodinethailand.fda.mo ph.go.th/food_54/) เมนู “คู่มือ สำหรับประชาชน” ปิดประกาศที่ OSSC คู่มือสำหรับ ประชาชน อ่านง่าย ปฏิบัติได้ถูกต้อง เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน เปิดเผยขั้นตอน ระยะเวลา เพื่อความโปร่งใส ลดการใช้ดุลยพินิจของ จนท.
ประเมินความปลอดภัย (3) ภาพรวมคู่มือ ปชช. สำนักอาหาร (31) Pre-M (28) กลุ่ม ม. (3) สถานที่ (14) ส่งออก (1) ผลิตภัณฑ์ (10) โฆษณา (1) ประเมินความปลอดภัย (3) อนุมัติสูตร/spec (2)
ตัวอย่าง
การยื่นคำขออนุญาตตั้งแต่ 1 มิ.ย.58 ศึกษารายละเอียดตามคู่มือประชาชน กรอกแบบฟอร์มและแนบเอกสารหลักฐาน ตามที่ระบุในคู่มือประชาชน ตรวจสอบตนเองด้วย Checklist นัดหมายล่วงหน้า เพื่อยื่นคำขออนุญาต
ตัวอย่าง
การปรับปรุงวิธีการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร 2. บริการด้วยระบบนัดหมายล่วงหน้า
จองคิวออนไลน์ ง่ายนิดเดียว เข้าเว็บไซด์สำนักอาหาร เมนู “ระบบจองคิวยื่นคำขออนุญาต” หรือ URL : http://203.157.72.105/foodbooking/
การนัดหมายล่วงหน้า เพื่อยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร จองคิวออนไลน์ ง่ายนิดเดียว เข้าเว็บไซด์สำนักอาหาร เมนู “ระบบจองคิวยื่นคำขออนุญาต” 1. ลงทะเบียนกำหนด username และ password 2. กรอกรายละเอียดการจองคิว 3. เลือกวัน เวลา ที่ต้องการมายื่นคำขอ ช่องทาง ทางอินเทอร์เน็ต ทางโทรศัพท์ ติดต่อด้วยตนเองที่ประชาสัมพันธ์ 4. กดปุ่ม “ยืนยันการจองคิว” 5. ทำการพิมพ์ข้อมูลลำดับคิว ที่ระบบแสดงบนหน้าจอเพื่อใช้เป็นหลักฐาน รายละเอียดติดตามหัวข้อถัดไป วรรณภรณ์ (ปุ๊ก) วิภาดา (อ้อ) โทร. 02 590 7187 02 590 7011
เงื่อนไขการจองคิวล่วงหน้า ผู้จองต้องมารายงานตัวต่อเจ้าหน้าที่ ที่รับคำขอ ณ สถานที่ยื่นคำขอที่แจ้งในหลักฐานการจองคิวก่อนเวลานัด ไม่น้อยกว่า 15 นาที หากผิดเวลา คิวดังกล่าวจะถูกเลิก ต้องเข้าระบบนัดหมายใหม่ ผู้ยื่นคำขอเซ็นต์รายงานตัว ณ ช่องบริการนั้นๆ การจองคิวในระบบนี้ใช้สำหรับการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหารเท่านั้น ไม่รวมการให้คำปรึกษา เปิดให้จองคิวได้ทุกวัน ล่วงหน้าเป็นเวลา 30 วัน กรณียกเลิกการจองคิวหรือเปลี่ยนแปลงวันเวลา ท่านสามารถยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงได้ก่อนถึงวันนัดหมายไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ มิเช่นนั้นท่านจะไม่สามารถจองคิวทางอินเตอร์เน็ตได้อีกภายใน 3 วันทำการนับจากวันที่นัดหมาย
เงื่อนไขการจองคิวล่วงหน้า ข้อมูลที่กรอก ต้องเป็นข้อมูลของผู้ยื่นคำขอ และเป็นข้อมูลจริงเท่านั้น หากวันมายื่นจริงมีข้อมูลไม่ตรงกับที่นัดหมายไว้ จะไม่สามารถใช้คิวนั้นได้ ผู้มายื่นคำขอ ต้องเป็นผู้มีอำนาจหรือได้รับมอบอำนาจในการยื่นคำขอ แก้ไขเอกสาร หรือลงนามรับทราบข้อบกพร่องได้ หากมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ จะแจ้งให้ท่านทราบทาง e-mail address ที่ให้ไว้ เงื่อนไขเดียวที่ไม่ยอมรับ ประเภทคำขอต้องตรงกับที่จอง หากจองมาผิดให้ consult ตามเวลาที่จองมา
3 คำขอ/วัน/บริษัทโฆษณา ข้อจำกัด ลำดับ รายการ ข้อจำกัดการรับคำขอ 1. สบ.5 ปกติ 10 รายการ/วัน/สถานที่ 2. อาหารมีวัตถุประสงค์พิเศษ 1 รายการ/วัน/สถานที่ (อ.,พ.,พฤ) 3. ผลิตภัณฑ์อื่นๆ /อนุมัติสูตร+spec. 3 รายการ/วัน/สถานที่ 4. โฆษณา 3 คำขอ/วัน/บริษัทโฆษณา 5. ประเมินความปลอดภัย 1 เรื่อง/วัน 6. หนังสือรับรองส่งออก 5 คำขอ/วัน/สถานที่
การปรับปรุงวิธีการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร 3. ปรับเปลี่ยนวิธีให้บริการที่ OSSC
ผังการให้บริการ ด้านอาหาร ณ OSSC การเงิน สนง.ossc ครัว พัสดุ 37 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 โถงกลาง 36 สำนักยา รวม 4 เครื่อง 35 กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ รวม 3 เครื่อง ประชาสัมพันธ์ 34 กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย รวม 1 เครื่อง สำนักอาหาร รวม 3 เครื่อง 33 กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง รวม 4 เครื่อง 32 สนง. OSSC รวม 9 เครื่อง 31 เครื่องศูนย์ IT จัดสรรให้ OSSC จำนวน 14 เครื่อง 31B เครื่องที่กองจัดซื้อเอง จำนวน 8 เครื่อง เครื่องที่ศูนย์ IT จัดสรรให้กอง จำนวน 2 เครื่อง เพิ่มช่องบริการ
ปรับวิธีให้บริการที่ OSSC แยกช่องบริการรับคำขอและให้คำปรึกษางานสถานที่ (ช่อง 31) ออกเป็น 2 ช่อง คือ 31 (เดิม) รับคำของานสถานที่ 31 B (พื้นที่ใหม่ ) ให้คำปรึกษางานสถานที่ ปรับช่อง 18 เป็นช่องบริการรับ-คืนเอกสาร อย่างเดียว Re process (Fast tract) ย้ายจากช่องรับคำขอ ที่ 18 เป็นช่อง 21-22 งานอนุมัติสูตร+spec ปรับแยกการให้บริการจากช่อง 23-24 มารับที่ห้อง 325 ปิดระบบกดคิวของ OSSC ช่องรับคำขอ โดยใช้หลักฐานการจองคิวล่วงหน้ารายงานตัวที่ช่องบริการล่วงหน้า 15 นาทีได้เลย ช่อง 18 , ช่อง 31B (ให้คำปรึกษางานสถานที่) และ 32 (ให้คำปรึกษางานผลิตภัณฑ์) ยังคงกดคิวที่ OSSC เช่นเดิม เพิ่มบัตรเล็กประจำช่องสำหรับให้ผู้ประกอบการประเมินผลความพึงพอใจของ OSSC
การปรับปรุงวิธีการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร 4. การตรวจสอบคำขอ ณ ช่องบริการ
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบคำขอด้วย checklist ฉบับเดียวกันกับผู้ประกอบการ
การรับคำขอ ณ ช่องบริการ กรณีครบถ้วนถูกต้อง ออกใบรับคำขอ ระยะเวลาการพิจารณาตามที่กำหนดไว้ในคู่มือประชาชน เมื่อพิจารณาแล้วเสร็จจะแจ้งผลทาง e-mail ตามที่ระบุใน checklist ภายใน 7 วัน กรณีล่าช้า จะแจ้งเหตุแห่งความล่าช้าทาง e-mail ทุก 7 วัน จนกว่าจะแล้วเสร็จ (ไม่ต้องเสียเวลาตามเรื่อง)
การรับคำขอ ณ ช่องบริการ 2. กรณีไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง เล็กน้อย ให้แก้ไขทันทีในคิว ถ้าทันเวลา หลายรายการ ขอความร่วมมือนำกลับไปแก้ไขให้สมบูรณ์ก่อนค่อยมายื่นใหม่ หาก ผปก.ยืนยันจะยื่นคำขอ เขียนบันทึกข้อบกพร่อง กำหนดระยะเวลาการแก้ไขภายใน 10 วันทำการ นับแต่วันถัดจากวันรับคำขอ และลงนามร่วมกัน (ผู้ยื่น & พนง.จนท.) ออกใบรับคำขอ (สถานะรอแก้ไข)
การรับคำขอ ณ ช่องบริการ การแก้ไขข้อบกพร่อง (ขอความร่วมมือ ผปก. ติดต่อแก้ไข/ปรึกษา จ.-พฤ.) กรณีแก้ไขครบถ้วนถูกต้อง จะเริ่มนับเวลาตามที่ระบุไว้ในคู่มือประชาชน กรณีแก้ไขไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง หรือไม่มาแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด ส่งคืนคำขอ--ลงนามรับเรื่องคืน
คำขอฯ ค้างพิจารณาก่อนวันที่ 21 ก.ค.58 รีบส่งเอกสารเพิ่มเติมโดยด่วน มิเช่นนั้นจะคืนคำขอเนื่องจากเอกสารไม่ครบถ้วน กรณีที่แก้ไขไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนดตามใบรับคำขอ จะส่งคืนคำขอเช่นกัน